Jeraporn Permyao, RN Orthopedic Nursing Department Chiangrai Prachanukroh Hospital Routine to Research R 2 R in Ortho.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนางานวิจัยจากงานประจำ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
Routine to Research R2R in Ortho
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
Continuous Quality Improvement
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Jeraporn Permyao, RN Orthopedic Nursing Department Chiangrai Prachanukroh Hospital Routine to Research R 2 R in Ortho

R 2 R คือ Keyword “ทำงานวิจัยจากงานประจำ / ทำงานประจำจน เป็นงานวิจัย” “มุ่งเน้นนำการวิจัยพัฒนางานประจำให้ดีขึ้น” “ไม่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ”

องค์ประกอบ R 2 R 1. โจทย์วิจัย: ปัญหาหน้างาน ทำประจำต้องการ ทำให้ดีขึ้น 2. ผู้วิจัย: ผู้ปฏิบัติโดยตรง 3. ผลลัพธ์ของงานวิจัย: วัดผลได้จากผู้รับบริการ ---ลดขั้นตอน บริการดีขึ้น แก้ปัญหาภาระงาน ผลการรักษาดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนและวัน นอน... “ควรพัฒนา R2R จากงานที่ทำอยู่...ไม่เปิดหน้า งานเพิ่มภาระให้ตนเอง”

ประโยชน์ของ R2R แก้ไขปัญหาการปฏิบัติงาน เป็นต้นแบบสู่งานวิจัย พัฒนาองค์กร ประเมินบุคคล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน

ตัวอย่าง R2R Ortho รองเท้าบริหาร (2557) หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้ว

ORTHOPAEDIC CRYO CUFF (OCC) โรงพยาบาลมหิดล (2555) ตัวอย่าง R2R Ortho

Cold Compression Pump for Pain Relief 108 โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า (2553) ตัวอย่าง R2R Ortho

นวตกรรม Zero....defcet โรงพยาบาลศิริราช (2552)

จงวิเคราะห์ตนเองท่านอยู่ในกลุ่มใด ? กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลเอาไว้บ้างแล้วแต่ยังไม่รู้ว่าจะ ทำอะไรต่อไปอย่างไร กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ กลุ่ม 3 สนใจที่จะทำงานวิจัยมากแต่ยังไม่มี โครงการแน่นอน กลุ่ม 4 สนใจที่จะทำวิจัยพอควร แต่ไม่ค่อยแน่ใจ ว่าจะทำได้หรือไม่ กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ

บัว 4 เหล่า

ทั้ง 5 กลุ่มนี้ สามารถทำงานวิจัยได้สำเร็จ ทั้งสิ้น โดยการเริ่มต้นที่ไม่เหมือนกัน และ อาจใช้เวลาต่างกัน

ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลมาบ้างแล้ว ลองเอาข้อมูลเดิมมา พิจารณา แล้วดูว่าเราจะ ใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง การวิจัยเป็นแบบ survey เพื่อดูอุบัติการณ์ของ ปัญหาบางอย่าง กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมี หัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้ เริ่มทำ เริ่มต้นปรับโครงการเดิม โดยเขียนให้ชัดเจนขึ้น มีการทบทวนเอกสารมาก ขึ้น และส่งขอทุนวิจัย

ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม กลุ่ม 3 สนใจมาก แต่ไม่รู้ว่าจะ เริ่มต้นอย่างไร ดูปัญหาใกล้ตัว วิเคราะห์ ปัญหาให้ชัด เริ่มพัฒนา โครงการตามขั้นตอน กลุ่ม 4 สนใจพอควร แต่ยังไม่ ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้ หรือไม่ อ่านเอกสารที่เกี่ยวข้อง มากๆ เพื่อกระตุ้นให้คิด ได้ ศึกษาบทเรียนของ ผู้อื่น ทั้งทางตรงและ ทางอ้อม เพื่อให้เกิดการ ต่อยอดความคิดของ ตนเอง

ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ อย่ายุ่ง อย่ากวน อย่าชวน ไม่สน ? 

ทางออกกลุ่ม 5 1. ลองคิดใหม่อีกครั้ง 2. ลองหาทางทำงานวิชาการประเภทอื่นๆที่ เทียบเคียง - งานทบทวนงานวิจัย - โครงการใช้ผลการวิจัย (research utilization)‏

เมื่อตัดสินใจเริ่มต้น ก้าวแรกมักเป็นก้าวที่ต้องการ ผู้ช่วยเหลือ

ส่วนก้าวต่อๆไป เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หู

การทำวิจัยเป็น “ทีม” เป็นอีกกลวิธีหนึ่ง ที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ

คำถาม 108 ที่อาจเป็นอุปสรรค นักวิชาการมักตั้งคำถามเหล่านี้ 1. การคำนวณขนาดตัวอย่าง ??? 2. ความน่าเชื่อถือของ intervention??

คำถามเหล่านี้อาจบั่นทอนกำลังใจ ของพยาบาลนักปฏิบัติการที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ ทำให้เบื่อหน่าย + ไม่อยากทำวิจัย

คนที่จะริเริ่มทำวิจัย ต้องไม่เป็น พวก “ทองไม่รู้ร้อน”

ทางออกที่ดี พบกันคนละครึ่งทาง พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงานที่ทำอยู่ ประจำวันเป็นงานวิจัย งานพัฒนาคุณภาพที่ทำอยู่ เก็บข้อมูลดี ๆ รายงานผลให้เป็น และใช้สถิติเปรียบเทียบให้ ถูกต้อง ก็สามารถ report ได้ในลักษณะของ งานวิจัย

สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 1. เข้าใจธรรมชาติงานวิจัยทางคลินิกของ พยาบาลนักปฏิบัติ 2. นักปฏิบัติอยู่กับการปฏิบัติ ต้องเอื้อให้สามารถ ใช้การปฏิบัติ และการแก้ปัญหาการปฏิบัติ ประจำวันพัฒนาไปเป็นการวิจัย

สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 3. ต้องเข้าใจว่านักปฏิบัติที่ยังไม่เคยทำวิจัยเอง อาจไม่คล่องตัว เรื่องการใช้สถิติใน กระบวนการวิจัย ดังนั้น “ต้องหาที่ปรึกษาทางด้านนี้”

สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 4. ต้องเปิดไฟเขียวให้ทุกๆเรื่อง ไม่จู้จี้เกินไป และต้องยอมรับความไม่สมบูรณ์บางอย่างได้ 5. ตระหนักเสมอว่า ถ้าไม่มีการเริ่มต้นงานที่ 1 จะ ไม่มีงานที่ 2,3,4……

งานวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินการทุกอย่าง เป็นไปตามขั้นตอน แต่ละขั้นตอนมีกิจกรรมที่แตกต่างกัน อรพรรณ โตสิงห์

เริ่มต้น คือ “คิดโจทย์ในการวิจัย” อรพรรณ โตสิงห์

เริ่มต้นคิดหัวข้อวิจัย กันอย่างไร ?

คิด คิด คิด วิจัย วิจัย วิจัย R 2 R, zzzZZZZZ คิดเอง

บอกต่อ ทำเรื่องนี้ซิเธอ … ………….in trend

วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในคลินิก

โจทย์วิจัยได้จาก 1. ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน เอากิเลสของตนเป็นที่ตั้งโจทย์  สำรวจว่างานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน มีอะไรที่ เป็นปัญหา  ถ้าไม่มีปัญหาแล้ว การปฏิบัติแบบเดิมๆ ที่ทำ ปรับให้ดีขึ้นได้หรือไม่  ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว ทำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่

โจทย์วิจัยได้จาก 2. ความพอใจหรือเป้าหมายขององค์กร ซึ่งรวมถึงผู้ป่วยและครอบครัว เอากิเลสของคนอื่นมาเป็นที่ตั้ง -วิจัยที่ดี ต้องมีคนต้องการ -วิจัยที่ดี ต้องแก้ปัญหาให้คนที่เกี่ยวข้องได้ -การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จะทำให้ได้รับ support ที่ดี (เงิน เวลา นโยบายในการเปลี่ยนแปลง)‏

โจทย์วิจัยได้จาก 3. การอ่านวารสาร งานวิจัยที่ตีพิมพ์ - ศึกษางานของคนอื่นๆ บ้าง เพราะปัจจุบัน เราไม่ได้เริ่มต้นจาก ศูนย์แล้ว ใครทำอะไร ? ทำไปถึงไหน ? ช่องว่างอยู่ตรงไหน ?

โจทย์วิจัยได้จาก 4. การพบปะพูดคุย หรือการสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ ทั้งเป็นการส่วนตัว หรือ ในการประชุมวิชาการ ต่างๆ

โจทย์วิจัยได้จาก 5. Replication of studies การทำวิจัยซ้ำ เช่นทำซ้ำใน settings อื่นๆ 6. จากทฤษฎี เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ต่างๆ

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ คณะกรรมการสนับสนุนการวิจัย อบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยในคลินิก เพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย

งานวิจัยที่ผ่านมา 1.การสูญเสียเลือดผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม เปรียบเทียบระหว่างวิธี Robert Jones Bandage กับ Cryo-compression 2.โปรแกรมการให้ความรู้และฝึกทักษะการป้องกัน แผลกดทับแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่รักษา แบบไม่ผ่าตัด 3.การลดความเจ็บปวดและลดอุบัติการณ์หลอดเลือด ดำอักเสบขณะได้รับการฉีดยา Cloxacillin 4.การใช้แบบประเมินเฝ้าระวัง Compartment syndrome เพื่อลด Fasciotomy และ/หรือ Amputation

การสูญเสียเลือดผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม เปรียบเทียบระหว่างวิธี Robert Jones Bandage กับ Cryo-compression เปรียบเทียบการสูญเสียเลือดหลังผ่าตัด Robert Jones bandage VS cryo-compression สถิติเดิม 950 ซีซี ประคบเย็น ลดลง ซีซี

วิธีการศึกษา ผู้ป่วยที่ใช้ในการศึกษา TKA ร. พ. เชียงรายประชานุเคราะห์ Robert Jones bandage Robert Jones Bandage + Transamine® cryo–compression ทุก 2 ชั่วโมง cryo–compression ทุก 1 ชั่วโมง 8

ผลการศึกษา วิธีการ Jone’s bandage Jone’s bandage + Transamine Cryo cuff ทุก 1 ชม Cryo cuff ทุก 2 ชม Total blood loss

ผลการศึกษา ในการผ่าตัด TKA การใช้ Robert Jones bandage ร่วมกับการให้ยา Transamine ® น่าจะ เป็นทางเลือกที่ดีอีกทางหนึ่งในการลดการ สูญเสียเลือดหลังผ่าตัด การใช้ Cryo compression ทุก 1 / 2 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมง มีปริมาณการเสียเลือดไม่แตกต่างกัน

Thank You For Your Attention