งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Routine to Research R2R in Ortho

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Routine to Research R2R in Ortho"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Routine to Research R2R in Ortho
Jeraporn Permyao, RN Orthopedic Nursing Department Chiangrai Prachanukroh Hospital

2 R2R คือ Keyword “ทำงานวิจัยจากงานประจำ / ทำงานประจำจนเป็นงานวิจัย”
“มุ่งเน้นนำการวิจัยพัฒนางานประจำให้ดีขึ้น” “ไม่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ”

3 องค์ประกอบ R2R 1. โจทย์วิจัย: ปัญหาหน้างาน ทำประจำต้องการทำให้ดีขึ้น 2. ผู้วิจัย: ผู้ปฏิบัติโดยตรง 3. ผลลัพธ์ของงานวิจัย: วัดผลได้จากผู้รับบริการ ---ลดขั้นตอน บริการดีขึ้น แก้ปัญหาภาระงาน ผลการรักษาดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนและวันนอน... “ควรพัฒนา R2R จากงานที่ทำอยู่...ไม่เปิดหน้างานเพิ่มภาระให้ตนเอง”

4 ประโยชน์ของ R2R แก้ไขปัญหาการปฏิบัติงาน เป็นต้นแบบสู่งานวิจัย
พัฒนาองค์กร ประเมินบุคคล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน

5 ตัวอย่าง R2R Ortho รองเท้าบริหาร (2557)
หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้ว

6 ตัวอย่าง R2R Ortho ORTHOPAEDIC CRYO CUFF (OCC) โรงพยาบาลมหิดล (2555)

7 ตัวอย่าง R2R Ortho Cold Compression Pump for Pain Relief 108 โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า (2553)

8 ตัวอย่าง R2R Ortho นวตกรรม Zero....defcet โรงพยาบาลศิริราช (2552)

9 จงวิเคราะห์ตนเองท่านอยู่ในกลุ่มใด ?
กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลเอาไว้บ้างแล้วแต่ยังไม่รู้ว่าจะ ทำอะไรต่อไปอย่างไร กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ กลุ่ม 3 สนใจที่จะทำงานวิจัยมากแต่ยังไม่มี โครงการแน่นอน กลุ่ม 4 สนใจที่จะทำวิจัยพอควร แต่ไม่ค่อยแน่ใจ ว่าจะทำได้หรือไม่ กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ

10 บัว 4 เหล่า

11 ทั้ง 5 กลุ่มนี้ สามารถทำงานวิจัยได้สำเร็จทั้งสิ้น โดยการเริ่มต้นที่ไม่เหมือนกัน และอาจใช้เวลาต่างกัน

12 ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลมาบ้างแล้ว ลองเอาข้อมูลเดิมมาพิจารณา แล้วดูว่าเราจะใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง การวิจัยเป็นแบบ survey เพื่อดูอุบัติการณ์ของปัญหาบางอย่าง กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ เริ่มต้นปรับโครงการเดิม โดยเขียนให้ชัดเจนขึ้น มีการทบทวนเอกสารมากขึ้น และส่งขอทุนวิจัย

13 ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
กลุ่ม 3 สนใจมาก แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ดูปัญหาใกล้ตัว วิเคราะห์ปัญหาให้ชัด เริ่มพัฒนาโครงการตามขั้นตอน กลุ่ม 4 สนใจพอควร แต่ยังไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้หรือไม่ อ่านเอกสารที่เกี่ยวข้องมากๆ เพื่อกระตุ้นให้คิดได้ ศึกษาบทเรียนของผู้อื่น ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้เกิดการต่อยอดความคิดของตนเอง

14 ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ อย่ายุ่ง อย่ากวน อย่าชวน ไม่สน ?

15 ทางออกกลุ่ม 5 1. ลองคิดใหม่อีกครั้ง
2. ลองหาทางทำงานวิชาการประเภทอื่นๆที่เทียบเคียง - งานทบทวนงานวิจัย - โครงการใช้ผลการวิจัย (research utilization)‏

16 เมื่อตัดสินใจเริ่มต้น ก้าวแรกมักเป็นก้าวที่ต้องการ ผู้ช่วยเหลือ

17 ส่วนก้าวต่อๆไป เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หู

18 การทำวิจัยเป็น “ทีม” เป็นอีกกลวิธีหนึ่ง ที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ

19 คำถาม 108 ที่อาจเป็นอุปสรรค
นักวิชาการมักตั้งคำถามเหล่านี้ 1. การคำนวณขนาดตัวอย่าง ??? 2. ความน่าเชื่อถือของ intervention??

20 คำถามเหล่านี้อาจบั่นทอนกำลังใจ
ของพยาบาลนักปฏิบัติการที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ ทำให้เบื่อหน่าย + ไม่อยากทำวิจัย

21 คนที่จะริเริ่มทำวิจัย
ต้องไม่เป็น พวก “ทองไม่รู้ร้อน”

22 ทางออกที่ดี พบกันคนละครึ่งทาง
พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงานที่ทำอยู่ประจำวันเป็นงานวิจัย งานพัฒนาคุณภาพที่ทำอยู่ เก็บข้อมูลดี ๆ รายงานผลให้เป็น และใช้สถิติเปรียบเทียบให้ถูกต้อง ก็สามารถ report ได้ในลักษณะของงานวิจัย

23 สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ
ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 1. เข้าใจธรรมชาติงานวิจัยทางคลินิกของพยาบาลนักปฏิบัติ 2. นักปฏิบัติอยู่กับการปฏิบัติ ต้องเอื้อให้สามารถใช้การปฏิบัติ และการแก้ปัญหาการปฏิบัติประจำวันพัฒนาไปเป็นการวิจัย

24 สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ
ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 3. ต้องเข้าใจว่านักปฏิบัติที่ยังไม่เคยทำวิจัยเอง อาจไม่คล่องตัว เรื่องการใช้สถิติในกระบวนการวิจัย ดังนั้น “ต้องหาที่ปรึกษาทางด้านนี้”

25 สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ
ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 4. ต้องเปิดไฟเขียวให้ทุกๆเรื่อง ไม่จู้จี้เกินไป และต้องยอมรับความไม่สมบูรณ์บางอย่างได้ 5. ตระหนักเสมอว่า ถ้าไม่มีการเริ่มต้นงานที่ 1 จะไม่มีงานที่ 2,3,4……

26 งานวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินการทุกอย่าง เป็นไปตามขั้นตอน
แต่ละขั้นตอนมีกิจกรรมที่แตกต่างกัน อรพรรณ โตสิงห์

27 “คิดโจทย์ในการวิจัย”
เริ่มต้น คือ “คิดโจทย์ในการวิจัย” อรพรรณ โตสิงห์

28 เริ่มต้นคิดหัวข้อวิจัย
กันอย่างไร ?

29 คิดเอง คิด คิด คิด วิจัย วิจัย วิจัย R 2 R, zzzZZZZZ

30 บอกต่อ ทำเรื่องนี้ซิเธอ … ………….in trend

31 วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในคลินิก

32 โจทย์วิจัยได้จาก 1. ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน
เอากิเลสของตนเป็นที่ตั้งโจทย์ สำรวจว่างานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน มีอะไรที่ เป็นปัญหา ถ้าไม่มีปัญหาแล้ว การปฏิบัติแบบเดิมๆ ที่ทำ ปรับให้ดีขึ้นได้หรือไม่  ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว ทำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่

33 โจทย์วิจัยได้จาก 2. ความพอใจหรือเป้าหมายขององค์กร
ซึ่งรวมถึงผู้ป่วยและครอบครัว เอากิเลสของคนอื่นมาเป็นที่ตั้ง -วิจัยที่ดี ต้องมีคนต้องการ -วิจัยที่ดี ต้องแก้ปัญหาให้คนที่เกี่ยวข้องได้ -การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จะทำให้ได้รับ support ที่ดี (เงิน เวลา นโยบายในการเปลี่ยนแปลง)‏

34 โจทย์วิจัยได้จาก 3. การอ่านวารสาร งานวิจัยที่ตีพิมพ์ - ศึกษางานของคนอื่นๆ บ้าง เพราะปัจจุบัน เราไม่ได้เริ่มต้นจาก ศูนย์แล้ว ใครทำอะไร ? ทำไปถึงไหน ? ช่องว่างอยู่ตรงไหน ?

35 โจทย์วิจัยได้จาก 4. การพบปะพูดคุย หรือการสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ ทั้งเป็นการส่วนตัว หรือ ในการประชุมวิชาการต่างๆ

36 โจทย์วิจัยได้จาก 5. Replication of studies
การทำวิจัยซ้ำ เช่นทำซ้ำใน settings อื่นๆ 6. จากทฤษฎี เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ต่างๆ

37 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
คณะกรรมการสนับสนุนการวิจัย อบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยในคลินิกเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย

38 งานวิจัยที่ผ่านมา การสูญเสียเลือดผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเปรียบเทียบระหว่างวิธี Robert Jones Bandage กับ Cryo-compression โปรแกรมการให้ความรู้และฝึกทักษะการป้องกันแผลกดทับแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่รักษาแบบไม่ผ่าตัด การลดความเจ็บปวดและลดอุบัติการณ์หลอดเลือดดำอักเสบขณะได้รับการฉีดยา Cloxacillin การใช้แบบประเมินเฝ้าระวัง Compartment syndrome เพื่อลด Fasciotomy และ/หรือ Amputation

39 การสูญเสียเลือดผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเปรียบเทียบระหว่างวิธี Robert Jones Bandage กับ Cryo-compression เปรียบเทียบการสูญเสียเลือดหลังผ่าตัด Robert Jones bandage VS cryo-compression สถิติเดิม 950 ซีซี ประคบเย็น ลดลง ซีซี

40 TKA ร.พ.เชียงรายประชานุเคราะห์
วิธีการศึกษา ผู้ป่วยที่ใช้ในการศึกษา TKA ร.พ.เชียงรายประชานุเคราะห์ cryo–compression Robert Jones bandage Robert Jones Bandage + Transamine® cryo–compression ทุก 1 ชั่วโมง cryo–compression ทุก 2 ชั่วโมง 8

41 ผลการศึกษา วิธีการ Jone’s bandage Jone’s bandage + Transamine
Cryo cuff ทุก 1 ชม ทุก 2 ชม Total blood loss 783 442 675 670

42 ผลการศึกษา ในการผ่าตัด TKA การใช้ Robert Jones bandage ร่วมกับการให้ยา Transamine® น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีอีกทางหนึ่งในการลดการสูญเสียเลือดหลังผ่าตัด การใช้ Cryo compression ทุก 1 / 2 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมง มีปริมาณการเสียเลือดไม่แตกต่างกัน

43 Thank You For Your Attention


ดาวน์โหลด ppt Routine to Research R2R in Ortho

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google