การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบริหารงบประมาณ
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โครงการพัฒนาการศึกษา จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2559 สำนักงาน กศน. จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ จำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การปกครองคณะสงฆ์ไทย Thai Sangha Administration
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
การประกันคุณภาพการศึกษา
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ – 2561)
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน สิงหาคม 2559
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย

ที่มา.. ของการประกันคุณภาพ การศึกษา พ. ร. บ. การศึกษาแห่งชาติ พ. ศ ฯ หมวด 6 มาตรา ( ม.4, 6) กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ ประกาศคณะกรรมการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกัน คุณภาพภายใน ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ. ศ. 2554

พ. ร. บ. การศึกษา มาตรา 47 ให้มีระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา ทุกระดับ

จัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในเป็นส่วน หนึ่งของกระบวน การบริหารการศึกษา พ. ร. บ. การศึกษา มาตรา 48

ให้มีสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา พ. ร. บ. การศึกษา มาตรา 49

การประเมินคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินคุณภาพการจัด การศึกษา การติดตาม และ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ที่ กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กำหนดสำหรับการประกันคุณภาพ ภายใน ซึ่งกระทำโดยบุคลากรของ สถานศึกษานั้น หรือโดยหน่วยงาน ต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแล สถานศึกษา กฎกระทรวงฯ 2553

การประเมินคุณภาพ ภายนอก หมายถึง การ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ซึ่งกระทำโดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์การมหาชน ) หรือผู้ประเมิน ภายนอก ( ที่สำนักงาน ดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการ ประกันคุณภาพและให้มีการ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา )

กฎกระทรวงฯ 2553 การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา หมายถึง กระบวนการพัฒนา การศึกษา เข้าสู่คุณภาพที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ของชาติ โดยมีการกำหนด มาตรฐานการศึกษา การ จัดระบบและโครงสร้าง การ วางแผน และ การดำเนินงาน ตามแผน รวมทั้งการสร้าง จิตสำนึกให้เห็นว่า การพัฒนา คุณภาพการศึกษาจะต้อง ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และเป็น ความรับผิดชอบร่วมกันของทุก คน

ข้อ 14 ให้สถานศึกษาฯ จัดระบบประกัน คุณภาพภายในตาม หลักเกณฑ์และแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน (8 องค์ประกอบ ) กฎกระทรวงฯ 2553

ข้อ 15 ( ว่าด้วยเรื่อง ) การกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา ฯ ข้อ 16 ( ว่าด้วยเรื่อง ) การ จัดทำแผนพัฒนา การ จัดการศึกษา ในข้อ 14 (2) กฎกระทรวงฯ 2553

ให้ สถานศึกษา จัดระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา (8 องค์ประกอบ ) ฯลฯ ให้ต้นสังกัด ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี ฯลฯ ประกาศคณะกรรมการ ประกันฯ สพฐ.2554

มาดู รายละเอียด ในกฎ กระทรวงฯ พ. ศ กัน

พ. ร. บ. การศึกษาแห่งชาติ พ. ศ หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุดกระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้ง การศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และ บูรณาการตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับการศึกษา

มาตรา 4 การประกันคุณภาพ ภายใน หมายถึง การ ประเมินผลและการ ติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษาจากภายใน

มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดำรงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข

ข้อ 3 ระบบการประกัน คุณภาพภายในเพื่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและพัฒนา มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย 1. การประเมินคุณภาพภายใน 2. การติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา 3. การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา

ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง กำหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. ศ. 2554

การประกันคุณภาพการศึกษา (Educational Quality Assurance) หมายถึง การสร้างมาตรฐาน คุณภาพของการบริหารจัดการ และดำเนินกิจกรรมตามภารกิจ ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่อง สร้างความมั่นใจให้กับ ผู้รับบริการทางอ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ ประชาชน และสังคมโดยรวม

การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance) หมายถึง การประเมินผลและ ติดตามตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา นั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้น สังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแล สถานศึกษานั้น