“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ
จุดมุ่งหมายของการวัดและ ประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment) เพื่อตัดสินผลการเรียน (Summative Assessment)
ระดับของการวัดและประเมินผล ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การวัดและประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ( ใช้ระบบตัวเลข 8 ระดับ ) การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ( ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ) การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ( ผ่าน ไม่ผ่าน )
นโยบายสำคัญด้านการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ประกาศการปรับสัดส่วนการใช้ O-NET ปี การศึกษา 2558 ประกาศการปรับสัดส่วนการใช้ O-NET ปี การศึกษา 2558 ประกาศแนวปฏิบัติในการยกระดับ คุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ประกาศแนวปฏิบัติในการยกระดับ คุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน
งาน / โครงการด้านการวัดและ ประเมินคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2558 การประเมินการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน การทดสอบ O-NET การทดสอบ NT การสอบโดยใช้ข้อสอบกลาง
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา 2559 สำนักทดสอบทาง การศึกษาจะประเมิน การอ่านออกเขียน ได้ ของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1-4
การใช้ผลการสอบโดยการใช้ ข้อสอบกลาง คิดเป็นร้อยละ 20 ของคะแนนปลายภาค เรียนที่ 2 โรงเรียนสอบเก็บคะแนนเอง ร้อยละ 80 สัดส่วนคะแนน 80 : 20 โรงเรียนสอบ ปลายภาคเอง 16 คะแนน ใช้คะแนนจากข้อสอบกลาง 4 คะแนน สัดส่วนคะแนน 70 : 30 โรงเรียนสอบปลาย ภาคเอง 24 คะแนน ใช้คะแนนจากข้อสอบกลาง 6 คะแนน สัดส่วนคะแนน 60 : 40 โรงเรียนสอบปลาย ภาคเอง 32 คะแนน ใช้คะแนนจากข้อสอบกลาง 8 คะแนน
คะแนนเก็บระหว่าง ภาคเรียน ( ๗๐ %) คะแนนสอบปลายภาคเรียน ( ๓๐ %) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้าย บท / กลางภาค - คะแนนตรวจ งาน / โครงการ - คะแนนสอบ ภาคปฏิบัติ ฯลฯ
การเพิ่มข้อสอบเขียนตอบ ให้สถานศึกษาเพิ่มการใช้ข้อสอบแบบเขียน ตอบทั้งการเขียนตอบแบบสั้นและแบบยาว เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ ระหว่างภาคเรียน และปลายภาคเรียน อย่างน้อยร้อยละ 30 ของการสอบแต่ละครั้ง การสอบ O-NET ปีการศึกษา 2559 วิชา ภาษาไทย ป.6 จะเพิ่มข้อสอบ แบบเขียนตอบ
นโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ปรับจำนวนชั่วโมงเรียนระดับประถมศึกษา จาก ไม่น้อยกว่า 1,000 ชั่วโมง เป็นไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง ปรับจำนวนชั่วโมงเรียนระดับมัธยมศึกษา จาก ไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง เป็นไม่เกิน 1,200 ชั่วโมง