ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 5 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปร่วมกับเซนเซอร์
Pushdown Automata : PDA
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Number system (Review)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Flip-Flop บทที่ 8.
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
รีจิสเตอร์เลื่อนข้อมูล
Digital System Designs
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Week 5 C Programming.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
Tree.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER)

รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป - ฟลอป 1 ตัวสำหรับการ จำข้อมูล 1 บิต เมื่อเราต้องการเก็บข้อมูลใดก็ใส่เข้าข้อมูลนั้น เข้าไปที่อินพุตของวงจรรีจิสเตอร์ ข้อมูลก็จะถูก นำไปเก็บ ( จำ ) ที่เอาท์พุตของวงจร ตัวอย่างวงจรรีจิสเตอร์ขนาด 1 บิต คือ D Flip- Flop ที่ขา D คือขาอินพุต และ Q คือเอาท์พุต ที่จำค่า

Register ขนาด 1 บิต การจำ 0 และ 1 ของ ฟลิป - ฟลอป D

ชนิดของรีจิสเตอร์ การนำข้อมูลเข้าไปเก็บ / นำข้อมูลที่ เก็บออกมาใช้งานของรีจิสเตอร์นั้น สามารถทำได้โดย – แบบอนุกรม (serial) เป็นการนำข้อมูล ที่รีจิสเตอร์สามารถรองรับได้ เข้า หรือ ออก ครั้งละ 1 บิต – แบบขนาน (Parallel) เป็นการนำข้อมูล ทั้งหมด ( ทุกบิต ) ที่รีจิสเตอร์สามารถ รองรับได้ เข้า หรือออก พร้อมกันครั้ง เดียวทุกบิต

ชนิดของรีจิสเตอร์ เราแบ่งชนิดของรีจิสเตอร์ตามการ นำข้อมูลเข้า / ออกได้เป็น 2 ชนิด – ชิพรีจิสเตอร์ (Shift Register) หรือ รีจิสเตอร์แบบอนุกรม (Serial Register) – ทรานสเฟอร์รีจิสเตอร์ (Transfer Register) หรือ รีจิสเตอร์แบบขนาน (Parallel Register)

ชิพรีจิสเตอร์ (Shift Register) เป็นรีจิสเตอร์ที่มีการทำงานในการนำข้อมูล เข้าไปเก็บหรือนำออกมาใช้อย่างอนุกรม ( ทีละบิต ) โดยอาจจะนำเข้าหรือออก ทางซ้ายหรือทางขวาของรีจิสเตอร์ก็ได้ โดยข้อมูลบิตแรกที่ถูกนำเข้าจะไปอยู่ใน ตำแหน่งแรกของด้านที่นำเข้า และข้อมูล เดิมที่อยู่ภายในรีจิสเตอร์แต่ละตำแหน่งจะ ถูกขยับไปยังตำแหน่งต่อไปเช่นเดียวกับ ข้อมูลที่นำเข้า สำหรับข้อมูลในตำแหน่ง สุดท้าย ( ตรงข้ามกับด้านที่นำเข้า ) จะถูก เลื่อนตกออกไป สำหรับข้อมูลรำเข้าในบิต ต่อ ๆ ไปก็เลื่อนเข้าไปในลักษณะเดียวกัน

ชิพรีจิสเตอร์ (Shift Register) เราแบ่งชนิดของชิพรีจิสเตอร์ตามทิศ ทางการนำข้อมูลเข้า / ออกได้ดังนี้ –Shift right register เป็นรีจิสเตอร์ที่มีการ นำข้อมูลเข้าจากทางซ้าย ขยับไปทางขวา เรื่อย ๆ จนข้อมูลหมด –Shift left register เป็นรีจิสเตอร์ที่มีการ นำข้อมูลเข้าจากทางขวา ขยับไปทางซ้าย เรื่อย ๆ จนข้อมูลหมด การควบคุมการนำข่อมูลเข้าหรืออกช้ สัญญาณที่เรียกว่า สัญญาณชิพ (Shift)

รีจิสเตอร์ (Register)

Serial in/serial out shift registers

Serial in/serial out shift Right registers

5 bit Register Timing Diagram

Serial In Parallel Out Register เป็นรีจิสเตอร์ที่มีการนำเข้าแบบอนุกรม ( บิตขวาสุดก่อน ) และการนำข้อมูลออกไป ใช้แบบขนาน ( นำออกจากเอาท์พุตของ ฟลิป - ฟลอปทุกตัว ) ในการทำงานนั้น เมื่อมีการนำอินพุตทุกบิต เข้าไป ค่าบิตที่นำเข้าไปจะปรากฎที่ เอาท์พุตในทันทีทุกบิตพร้อมกัน

Serial In Parallel Out Register

Timing Diagram

Parallel In Serial Out Register รีจิสเตอร์แบบนี้ ข้อมูลที่ป้อนที่อินพุตจะทำการ ใส่ทุกบิตในเวลาเดียวกันแทนการใส่ตามกันไป ทีละบิตดังในรีจิสเตอร์ที่มีการ อินพุตแบบ อนุกรม ส่วนเอาท์พุตจะออกมาทีละบิตดังเช่นในแบบ serial out อื่น ๆ – ถ้าขา SHIFT/LOAD = 0 G1 ถึง G3 จะ ทำงาน ค่าอินพุตจะถูกนำเข้าไปในรีจิสเตอร์ แบบขนาน – ถ้าขา SHIFT/LOAD = 1 G4 ถึง G6 จะ ทำงาน ค่าเอาต์พุตจะ Shift ไปทางขวาทีละบิต

Parallel In Serial Out Register

Parallel In/Parallel out Register

Bidirectional Shift Register Bidirectional Shift Register เป็น รีจิสเตอร์ที่เราสามารถ shift ได้ทั้งทางขวา และทางซ้าย โดยการสร้างวงจรเกต ควบคุมการ shift ว่าจะให้ shift ทางขวา หรือทางซ้าย – ถ้าสัญญาณที่ขา RIGHT/LEFT มีค่า 1 การทำงานจะเป็นการ shift ทางขวา – ถ้าสัญญาณที่ขา RIGHT/LEFT มีค่า 0 การทำงานจะเป็นการ shift ทางซ้าย

Bidirectional Shift Register

Shift register by JK Flip-Flop รีจิสเตอร์ทำงานโดยใช้หลักการของ D Flip-Flop ในการสร้างรีจิสเตอร์นั้นนอกจาก ใช้ D Flip-Flop แล้ว เรายังสามารถใช้ JK Flip-Flop ในการสร้างรีจิสเตอร์ได้ โดยนำ การทำงานกรณี SET และ RESET ของ JK FF ที่เปรียบได้กับการทำงานของ D FF มา ออกแบบโดยการต่อขา K ให้ตรงข้ามกับ J แล้วใช้ขา J เป็น D

Parallel-In Serial- Out Register

0 1 1

Shift-in Shift- around Register ในการใช้งานรีจิสเตอร์นั้น เราต้องสามารถ นำข้อมูลภายนอกใส่เข้าไปเพื่อให้ รีจิสเตอร์จำได้ และต้องสามารถนำข้อมูล ที่จำอยู่แล้วออกมาใช้งานได้ โดยบเมื่อนำ ออกมาใช้แล้วข้อมูลจะยังคงเหลือ ( จำ ) อยู่ในรีจิสเตอร์ สำหรับวงจรที่ทำงานแบบอนุกรมหรือ shift register นั้น วงจรที่ทำงานใน ลักษณะนี้เรียกว่า Shift-in Shift around register

Shift-in Shift-around Shift Right Register

1 1

Shift Register Counter เป็น shift register ที่มีเอาท์พุตแบบอนุกรม โดยนำเอาท์พุตต่อกลับไปที่อินพุตที่เป็นแบบ อนุกรมเพื่อสร้างชุดของค่าลำดับพิเศษ ปกติแล้วเรามักเรียกว่า counter เพราะวงจรจะ ให้ชุดของลำดับสถานะเฉพาะที่กำหนด shift register counter ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ –Johnson Counter –Ring Counter

Ring Counter เป็น counter ที่ใช้ฟลิป - ฟลอป 1 ตัวสำหรับการ แสดงค่าสถานะในลำดับของวงจร วงจรจะไม่ ต้องมีเกตช่วยในการถอดรหัสเลย ถ้าเป็น ring counter ขนาด 10 bit วงจรก็จะมี เอาท์พุตที่แทนค่าในเลขฐานสิบได้

Ring Counter

10-bit Ring Counter ที่มีค่าเริ่มต้นที่

Shift Register Applications Time Delay

Shift Register Applications ตัวอย่าง จงหาค่า Time delay เมื่อ clock period = 2 microsecond

Shift Register Applications