งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.

2 สิ่งที่ต้องการวัด มี ๕ หมวด
๑. ความสามารถในการบริหารจัดการเครือข่าย ๒. การทำหน้าที่ในการเป็นศูนย์กลางประสานการ ทำงานของกลุ่มองค์การสมาชิก ๓. มีความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนาตำบล ๔. ความสามารถในการพัฒนากลุ่มองค์การสมาชิก ๕. ความสามารถในการพัฒนาผู้นำ

3 ๑. ความสามารถในการบริหารจัดการเครือข่าย
๑.๑ ร้อยละของ คณะกรรมการบริหารเครือข่ายที่สามารถปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่ ๑.๒ จำนวนองค์การในตำบลที่เป็นสมาชิก ศอช. ๑.๓ ความชัดเจนครอบคลุมของแผนปฏิบัติการของ ศอช. ๑.๔ การกำหนดระเบียบกฎเกณฑ์และการปฏิบัติตามของสมาชิก ๑.๕ คณะกรรมการบริหาร ศอช มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตาม แผนของ ศอช. และติดตามแผนขององค์การสมาชิกโดยการให้ คำแนะนำ พูดคุย ๑.๖ การมีกองทุนในการบริหารจัดการเครือข่าย

4 ๒. การทำหน้าที่ในการเป็นศูนย์กลางประสานการทำงาน ของกลุ่มองค์การสมาชิก
๒. การทำหน้าที่ในการเป็นศูนย์กลางประสานการทำงาน ของกลุ่มองค์การสมาชิก ๒.๑ ความถูกต้องและเป็นปัจจุบันของทะเบียนข้อมูลของ ศอช.ต.เช่น ทะเบียนสมาชิก ข้อมูลกลุ่ม องค์กร ๒.๒ จำนวนครั้ง ศอช.ต. จัดประชุมองค์การสมาชิกร่วมกัน ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ๒.๓ จำนวนครั้งของการจัดเวทีประชาคม โดย ศอช.ต. ๒.๔ จำนวนหน่วยงาน / แหล่งทุน ที่ ศอช.ต. ประสาน ความร่วมมือและได้รับความร่วมมือ

5 ๓. มีความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนาตำบล
๓.๑ ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เกิดจากการจัดเวที ประชาคม โดย ศอช.ต. และ อบต. นำไปบรรจุในแผน/ข้อบังคับของ อบต. ๓.๒ การกำหนดเป้าหมายในการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาของตำบล (มีเป้าหมาย ชัดเจนทั้งเรื่องที่จะดำเนินการและระยะเวลาที่จะต้องดำเนินการ) ๓.๓ จำนวนโครงการ /กิจกรรมที่ ศอช. จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การแก้ปัญหาของตำบลตามที่วางไว้ ๓.๔ จำนวนปัญหาในชุมชนที่สามารถแก้ปัญหาได้ตามเป้าหมาย ๓.๕ จำนวนกองทุนในชุมชนที่ ศอช.ต.ดำเนินการให้มีการบริหารจัดการร่วมกัน ในลักษณะเครือข่ายเพื่อช่วยเหลือคนในชุมชน

6 ๔. ความสามารถในการพัฒนากลุ่มองค์การสมาชิก
๔.๑ จำนวนครั้งที่ ศอช.จัดให้มีการให้ความรู้แก่องค์การสมาชิก ๔.๒ จำนวนครั้งที่ ศอช.ต.ให้คำแนะนำช่วยเหลือองค์การสมาชิก เช่น เรื่อง การประชุม การจัดทำบัญชี การจัดทำข้อมูล ๔.๓ จำนวนองค์การสมาชิกที่ ศอช.ต.ให้การช่วยเหลือ เช่น การประสาน งบประมาณสนับสนุน การติดต่อตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ๔.๔ จำนวนโครงการกิจกรรมที่องค์การสมาชิก ศอช.ต. ดำเนินการ ร่วมกันเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

7 ๕. ความสามารถในการพัฒนาผู้นำ
๕.๑ ร้อยละของผู้นำ ศอช.ต. ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นกรรมการในหน่วยงาน หรือองค์การต่าง ๆ เช่น อบต. กรรมการเลือกตั้งองค์การชุมชน ๕.๒ ร้อยละของผู้นำ ศอช.ต. ไปร่วมประชุม อบรมสัมมนา ในโครงการต่าง ๆ ๕.๓ ร้อยละของผู้นำ ศอช.ต. ที่สามารถเป็นแกนนำในการจัดเวทีประชาคม การนำชุมชน ๕.๔ ร้อยละของผู้นำ ศอช.ต. ที่ได้รับการยกย่อง ชมเชย หรือได้รับรางวัล

8 การพัฒนา ศอช.ต. แบ่งเป็น ๓ ระดับ
ค่าคะแนนระหว่าง ๕๖ – ๖๙ คะแนน อยู่ในระดับ ๓ = เข้มแข็ง ค่าคะแนนระหว่าง ๔๒ – ๕๕ คะแนน อยู่ในระดับ ๒ = ปานกลาง ค่าคะแนนระหว่าง ๑ – ๔๑ คะแนน อยู่ในระดับ ๑ = อ่อนแอ

9 ใบงาน ๑. ภารกิจที่สำคัญของคณะกรรมการศอช.ต. (มีอะไรบ้าง?) ๒. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ศอช.ต. (มีอะไรบ้าง ?) ๓. วิธีการแก้ปัญหาในการดำเนินงาน ศอช.ต. (ทำอย่างไร?) ๔. ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ศอช.ต. ๕. แผนการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ศอช.ต.

10 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google