งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจจีน - ไทยภาคเหนือ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด / จังหวัด การ ขับเคลื่อนการค้า การลงทุน โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้า การ ลงทุน กลุ่มประเทศ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจจีน - ไทยภาคเหนือ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด / จังหวัด การ ขับเคลื่อนการค้า การลงทุน โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้า การ ลงทุน กลุ่มประเทศ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจจีน - ไทยภาคเหนือ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด / จังหวัด การ ขับเคลื่อนการค้า การลงทุน โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้า การ ลงทุน กลุ่มประเทศ GMS, BIMST-EC และ ประเทศอื่นๆ สำนักงานพาณิชย์จังหวัด เชียงใหม่ นำเสนอ

2 การจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจไทย - จีน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ จัดตั้ง ณ อาคารการเคหะแห่งชาติ มณฑลยูนนาน นครคุนหมิง สป. จีน นายธงชัย วงศ์เหรียญทอง รอง ผวจ. ชม. ( เชิ้ตสีฟ้า ไทด์ สีแดง ) เป็นประธานเปิดศูนย์ ประสานฯ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2549 ศูนย์ฯ ดำเนินงานโดยสมาชิก หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ โดยการสนับสนุนของจังหวัด เชียงใหม่

3 การเตรียมการจัดตั้ง ศูนย์แสดงสินค้า Northern Thailand Plaza คณะฯ ได้หารือกับบริษัท จินหม่าหยวน จำกัด เพื่อการเตรียมการจัดตั้ง Northern Thailand Plaza ในปีที่ 1 จินหม่าหยวน จะให้พื้นที่ 100 ตารางเมตร ในอาคาร Asian Commodities City โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า เพื่อทดลองดำเนินการ

4 ประชุมร่วม ม. ยูนนานและ ม. เชียงใหม่ เรื่องพัฒนาการค้าไทย ( ภาคเหนือ ) – จีน ( ยูนนาน ) เรื่องที่นำมาหารือและแนวทางการ แก้ไขปัญหา การนำเข้า - ส่งออกสินค้า การชำระเงิน รูปแบบและปัญหาการขนส่ง สินค้าผ่านแดน (Logistic) แผนการก่อสร้างเมืองใหม่ของคุนหมิงที่เชิง ก้ง การค้าสินค้าผัก - ผลไม้ระหว่างไทย - จีน การแลกเปลี่ยนบุคคลากรระหว่างสอง มหาวิทยาลัย

5 การประชุมร่วมกับหอการค้ายูนนาน หารือความร่วมมือในกรอบสี่เหลี่ยม เศรษฐกิจ - กรอบความร่วมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ต้องปรับตัวเพื่อให้สามารถเข้าร่วมกับ โครงการ Pan Pearl River Data ที่จีนได้ รวม 9 มณฑล เป็น Cluster และการ เชื่อมต่อกับอีก 2 เขตบริหารพิเศษของจีน คือ ฮ่องกงและมาเก๊า ตลอดจนกรอบความ ร่วมมือของอาเซียน + จีน

6 การร่วมงานคุนหมิงแฟร์ จังหวัดเชียงใหม่ร่วมหอการค้าจังหวัด เชียงใหม่ เข้าร่วมงานคุนหมิงแฟร์จำนวน 6 คูหา สินค้าที่นำเข้าร่วมงานประกอบด้วย สินค้าอาหาร และดอกไม้ประดิษฐ์ ยอดการจำหน่ายในงาน 200,000 บาท คาด ว่าจะมีการสั่งซื้อตามมา 2.7 ล้านบาท

7 รุกตลาดฉงฉิง และเฉินตู นครฉงฉิง ประชากร 32 ล้านคน เมือง เศรษฐกิจพิเศษ 1 ใน 4 ของจีน จังหวัด เชียงใหม่และหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ ศึกษาลู่ทางการจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจ การร่วมลงทุนในการจัดตั้งสถานบริการนวด แผนไทยและล้านนา Spa นครเฉิงตู ติดตามผลการเข้าร่วมงานแสดง สินค้าของกลุ่มจังหวัดที่เฉิงตูเมื่อ 25-28 พ. ค. 49 และกระตุ้น Buyers ของจีนให้เร่ง การสั่งซื้อสินค้า ปรากฏว่า จีนเริ่มการสั่ง แหนมเข้าไปทดลองตลาด และคณะได้ ศึกษาการจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจ เช่นเดียวกับที่จัดตั้งที่นครคุนหมิง

8 ข้อเสนอแนะโอกาสการทำตลาดสินค้า ของกลุ่มจังหวัดล้านนา สินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มและสินค้าที่จีนไม่มีในกลุ่ม สินค้าหลัก ได้แก่ ข้าวหอมะลิ อาหารสำเร็จรูป ผลไม้และผลิตภัณฑ์อาหารอบแห้งต่าง ๆ เช่น น้ำพริก ซอสปรุงรส แหนม หมูยอ ผลไม้เมืองร้อน สินค้าตกแต่งและประดับอาคาร Europe Style ธุรกิจบริการ หนวดแผนไทยและ ล้านนาสปา สมุนไพรที่เกี่ยวข้อง เช่นลูกประคบ เร่งศึกษาและการทำ Marketing Research ใน รายสินค้าศักยภาพของเชียงใหม่และล้านนา เข้าร่วมงานแสดงสินค้าอย่างต่อเนื่อง และกระตุน ภาคเอกชนติดตามผลและการเสนอสินค้าให้กับ ผู้นำเข้าของจีน โดยเฉพาะมณพลทางตอนใต้และ ตะวันตกของจีน พิจารณานำเข้า รถไฟฟ้า และเครื่องยนต์ที่ใช้ NGV หรือ CNC หรือระบบไฮบริด

9 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การจัดตั้งศูนย์ประสานธุรกิจจีน - ไทยภาคเหนือ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด / จังหวัด การ ขับเคลื่อนการค้า การลงทุน โครงการส่งเสริมและพัฒนาการค้า การ ลงทุน กลุ่มประเทศ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google