งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักประวัติศาสตร์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักประวัติศาสตร์."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักประวัติศาสตร์

2 คอนสแตนติน ฟอลคอน

3 บทบาทในประเทศสยาม(ไทย)
คอนสแตนติน ฟอลคอนโคนสตันตินอส เกราคิส เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็นสมุหนายกในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา

4 ประวัติในวัยเด็ก ฟอลคอนเกิดที่แคว้น (ประเทศกรีซ) เมื่อ ค.ศ.1647 (พ.ศ. 2190) โดยมีเชื้อสายของชาวกรีกและเวนิซ ฟอลคอนเข้าทำงานให้กับบริษัทอินเดียตะวันออก ของอังกฤษ ค.ศ (พ.ศ. 2205) ฟอลคอนออกจากบ้าน และเดินเรือสินค้าไปค้าขายยังแดนต่างๆ

5 การทำงานในประเทศสยาม (ไทย)
ค.ศ. 1675(พ.ศ. 2218) เดินทางมายังสยามในฐานะพ่อค้า เนื่องจากฟอลคอนมีความสามารถพิเศษในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศอย่างง่ายดาย (อนึ่ง นอกจากภาษากรีก ซึ่งเป็นภาษาแม่ และภาษาไทยแล้ว ฟอลคอนมีความสามารถในการพูด ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศษ ภาษาโปรตุเกส ภาษามลายู ) ฟอลคอนจึงเรียนรู้การใช้ภาษาไทยอย่างคล่องแคล่วในเวลาไม่กี่ปีและเข้ารับราชการในราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในตำแหน่งล่าม นับเป็นชาวตะวันตกคนแรกที่เข้ามารับราชการในสมัยอยุธยา เป็นตัวกลางการค้าระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศส ฟอลคอนได้กลายมาเป็นสมุหเสนาในสมเด็จพระนารายณืมหาราชในเวลาอันรวดเร็ว

6 ต่อ การทำงานในประเทศสยาม (ไทย)
ต่อ การทำงานในประเทศสยาม (ไทย) ค.ศ.1682(พ.ศ. 2225) ฟอลคอน แต่งงานกับ ดอญ่า มารี กีมาร์ (ท้าวทองกีบม้า) ซึ่งภายหลัง เป็นผู้ประดิษฐ์ขนมไทยหลายอย่าง ความใกล้ชิดระหว่างเจ้าพระยาวิชาเยนทร์และสมเด็จพระนารายณ์ทำให้เกิดความริษยาขึ้นในหมู่ราชนุกูล ซึ่งส่งให้เกิดผลเสียต่อตัวเจ้าพระยาวิชาเยนทร์เองในเวลาต่อมา เมื่อสมเด็จพระนารายณ์ทรงพระประชวรหนักใกล้สวรรคต ก็มีข่าวลือว่าเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ต้องการใช้องค์รัชทายาทเป็นหุ่นเชิดและเข้ามาเป็นผู้ปกครองกรุงศรีอยุธยาเสียเอง ซึ่งแม้เหตุดังกล่าวจะมีความเป็นไปได้น้อย แต่ก็เป็นมูลเหตุให้พระเพทราชา ซึ่งเป็นพระอนุชาบุญธรรมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช วางแผนให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จไปประทับที่พระราชวังในลพบุรี และสมเด็จพระนารายณ์ก็ได้ไว้ใจมอบอำนาจการสำเร็จราชการแผ่นดินให้พระเพทราชาในค.ศ.1688

7 ต่อ บั้นปลายของชีวิต การตีความกันไปต่างๆ นานา ถึงเหตุจูงใจที่ทำให้พระเพทราชาสั่งจับกุมและประหารเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ เป็นผลให้จุดยืนของกรีกในประวัติศาสตร์ไทยเป็นเรื่องที่ยังหาข้อสรุปมิได้ นักประวัติศาสตร์ที่เห็นด้วยกับการกระทำของพระเพทราชามองเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ว่าเป็นชาวต่างชาติที่ฉวยโอกาสมาใช้อิทธิพลเข้าควบคุมราชอาณาจักรในนามของผลประโยชน์จากชาติตะวันตก แต่นักประวัติศาสตร์อีกกลุ่มหนึ่งมองว่าเจ้าพระยาวิชาเยนทร์เป็นแพะรับบาป เป็นช่องว่างให้พระเพทราชาสามารถเข้ายึดอำนาจได้จากองค์รัชทายาทโดยนำเอาความริษยาและความระแวงที่มีต่อฟอลคอนมาเป็นมูลเหตุสนับสนุน


ดาวน์โหลด ppt นักประวัติศาสตร์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google