งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย อรวรรณ หล่มวงษ์ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

2 หัวข้อบรรยาย 1. ผลกระทบของภาวะอ้วน 2. ผลกระทบของภาวะขาดอาหาร
3. ความสำคัญของโภชนาการ 4. ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์การเจริญเติบโตของเด็ก 5. ระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก

3 เด็กอ้วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กขาดอาหารยังคงมีอยู่
ปัญหาโภชนาการในเด็ก เด็กอ้วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กขาดอาหารยังคงมีอยู่

4 โรคอ้วน....ภัยใกล้ตัว ผลกระทบของ ภาวะอ้วนในเด็ก

5 มีผลต่อจิตใจของเด็ก มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง มีไขมันเกาะผนังหลอดเลือด ภาวะตับอักเสบและถุงน้ำดีอักเสบ โรคกระดูกและข้อ เช่น ขาโก่ง ปวดเข่า/ข้อเท้า ปวดหลัง เกิดภาวะนอนกรนและหยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นโรคผิวหนัง เช่น เชื้อราที่ผิวหนัง ผิวหนังอักเสบ ติดเชื้อได้ง่าย มีผลต่อจิตใจของเด็ก

6 เด็กไทยยังคงขาดสารอาหารที่สำคัญ
โรคขาดอาหาร....ภัยเงียบ ที่คุณมองข้าม เด็กไทยยังคงขาดสารอาหารที่สำคัญ ขาดโปรตีนและพลังงาน ขาดไอโอดีน ขาดธาตุเหล็ก

7 ผลกระทบของ ภาวะขาดอาหารในเด็ก

8 มีความเสี่ยงต่อการตาย เมื่อเทียบกับ เด็กที่มีภาวะการเจริญเติบโตดี
ภูมิต้านทานโรคต่ำ ทำให้เจ็บป่วยบ่อย เป็นนาน หรือมีความรุนแรงของโรคมากขึ้น เช่น เป็นหวัด ปอดบวม ท้องร่วง มีความเสี่ยงต่อการตาย เมื่อเทียบกับ เด็กที่มีภาวะการเจริญเติบโตดี เด็กขาดอาหารระดับปานกลาง 5 เท่า เด็กขาดอาหารระดับรุนแรง 8 เท่า

9 ขาดพลังงานและโปรตีนแบบเรื้อรัง IQ ค่ากลางของมาตรฐานสากล เท่ากับ 100
ระดับสติปัญญาต่ำ ขาดพลังงานและโปรตีนแบบเรื้อรัง (ภาวะเตี้ย) ขาดไอโอดีน ขาดธาตุเหล็ก IQ ค่ากลางของมาตรฐานสากล เท่ากับ 100 แต่ เด็กไทยแค่ 98.59

10 ความสัมพันธ์ระหว่างความสูงกับ ระดับสติปัญญาของเด็กอายุ 2-18 ปี
ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ระดับเชาวน์ปัญญา เตี้ย (15.72) ค่อนข้างเตี้ย (15.16) สูงตามเกณฑ์ (15.69) ค่อนข้างสูง (17.57) สูงกว่าเกณฑ์ (18.01) สถิติ : ANOVA, P-value<0.001 ที่มา : โครงการวิจัยพัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทยปี 2544

11 มีความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง
เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม และเด็กเตี้ย มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังเมื่อเป็นผู้ใหญ่ โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคกระดูกพรุน

12 ผลผลิตต่ำ เด็กที่มีภาวะเตี้ย เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะมีรูปร่างเล็ก
ทำให้ความสามารถในการทำงานไม่ดี ผลผลิตต่ำ เป็นผลกระทบต่อ รายได้ของครอบครัว/ ชุมชน/ ประเทศ

13 มีผลต่อรุ่นลูกรุ่นหลาน เมื่อเป็นผู้ใหญ่และตั้งครรภ์ จะเกิด
เด็กผู้หญิงที่เตี้ย เมื่อเป็นผู้ใหญ่และตั้งครรภ์ จะเกิด มีโอกาสเสี่ยงที่ลูกจะมีน้ำหนักแรกเกิดน้อย กว่าเกณฑ์ เกิดวงจรเช่นนี้ไปยังรุ่นลูกรุ่นหลาน

14 โภชนาการไม่ดีตลอดวงจรชีวิตมนุษย์
ทารกแรกเกิดน้ำหนัก ต่ำกว่าเกณฑ์ ผู้สูงอายุ ขาดสารอาหาร เพิ่มอัตราการเจ็บป่วย/การตาย สติปัญญาต่ำ พัฒนาการไม่สมวัย เพิ่มความเสี่ยงการเป็นโรคเรื้อรังในผู้ใหญ่ เด็กเล็ก แคระแกร็น หญิงวัย เจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ ขาดอาหาร น้ำหนักตัวน้อย วัยรุ่น แคระแกร็น

15 ส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ทั้งปัจจุบันและอนาคต
สรุป โภชนาการไม่ดี... ส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ทั้งปัจจุบันและอนาคต

16 ความจริงของเด็กไทย ... ไม่ได้กินอาหารเช้า
กินอาหารเช้าที่ขาดคุณภาพ / ไม่พอ กินอาหารกลางวันคุณภาพต่ำ กินอาหารที่มีพลังงานสูง กิน-ดื่มอาหารว่าง หวาน - มัน- เค็ม จัด ปฏิเสธผัก กินผลไม้น้อย ดื่มนมน้อย

17 ทำไมเด็กไทยกินไม่เป็น ผู้ใหญ่ใจดี ต้องมีความรับผิดชอบ
17 อย่าโทษเด็ก ผู้ใหญ่ใจดี ต้องมีความรับผิดชอบ เป็นภาระกิจของทุกคน จะละเลยไม่ได้

18 ถึงเวลาแล้วหรือยัง… ที่ทุกคนต้องใส่ใจ “โภชนาการ” เพื่อให้เด็กไทยมี การเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
สูง-สมส่วน

19 ความสำคัญของโภชนาการ
โภชนาการที่ดีในเด็กก่อนวัยเรียน เป็นการวางรากฐานของการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต เนื่องจากจะช่วยสร้างเซลล์สมอง กล้ามเนื้อ กระดูก และอวัยวะต่างๆ ให้สมบูรณ์ ทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

20 ผลจากการมีโภชนาการดี ผลจากการมีโภชนาการดี
ความหมาย สูงสมส่วน โครงสร้างดี สมรรถภาพดี พัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านกีฬา ลด LBW ในรุ่นถัดไป สมองดี มีความสามารถในการเรียนรู้ จดจำ พัฒนาการตามวัย พัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ แข็งแรง มีภูมิต้านโรค ลดความเสี่ยงต่อการเกิด โรคติดต่อ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

21 เด็กที่มีส่วนสูงระดับดี มีโอกาสเรียนระดับสูง
ผลการเรียนดี มีโอกาสเรียนระดับสูง รายได้ดี

22 ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ ด้านการเจริญเติบโตของเด็ก 0-5 ปี
ร้อยละของเด็กอายุ 0-2 ปี มีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ร้อยละของเด็กอายุ 3-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

23 คำนิยามเด็กมีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน
ส่วนสูงระดับดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือ สูงกว่าเกณฑ์ เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน หมายถึง เด็กมีการเจริญเติบโตดีทั้งส่วนสูงและน้ำหนัก (ในคน เดียวกัน) โดยมีลักษณะการเจริญเติบโต 3 แบบ คือ 1. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงตามเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน 2. เด็กมีส่วนสูงระดับค่อนข้างสูงและมีรูปร่างสมส่วน 3. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงกว่าเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน

24 การเจริญเติบโตดี อาหารตามวัย เฝ้าระวัง การเจริญเติบโต

25 การเจริญเติบโตของเด็ก
ดัชนีที่แสดงถึง การเจริญเติบโตของเด็ก น้ำหนักและส่วนสูง

26 การเจริญเติบโตของเด็ก เนื่องจากความสูงเกี่ยวข้องกับสารอาหาร หลายชนิด
สะท้อนถึง การเจริญเติบโตของเด็ก ได้ดีกว่าน้ำหนัก เนื่องจากความสูงเกี่ยวข้องกับสารอาหาร หลายชนิด

27 ต่อการเจริญเติบโตของเด็ก
สารอาหารสำคัญ ต่อการเจริญเติบโตของเด็ก พลังงาน โปรตีน แคลเซียม สังกะสี ไอโอดีน เหล็ก วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 12 โฟเลท วิตามินซี

28 จึงจะได้รับสารอาหารเพียงพอ
กินอย่างไร จึงจะได้รับสารอาหารเพียงพอ

29 แนวทางการบริโภคอาหาร เพื่อให้ได้สารอาหารเพียงพอ
ข้อปฏิบัติการให้อาหารเด็ก ธงโภชนาการ

30 ข้อปฏิบัติการให้อาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของทารก
ให้นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน ไม่ต้อง ให้อาหารอื่นแม้แต่น้ำ เริ่มให้อาหารตามวัยเมื่ออายุ 6 เดือนควบคู่ไปกับนมแม่ เพิ่มจำนวนมื้ออาหารตามวัยเมื่ออายุลูกเพิ่มขึ้น จนครบ 3 มื้อ เมื่อลูกอายุ เดือน ให้อาหารตามวัยที่มีคุณภาพและครบ 5 หมู่ ทุกวัน ค่อย ๆ เพิ่มปริมาณและความหยาบของอาหารขึ้นตาม อายุ

31 ข้อปฏิบัติการให้อาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของทารก
6. ให้อาหารรสธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการปรุงแต่งรส 7. ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย 8. ให้ดื่มน้ำสะอาด งดเครื่องดื่มรสหวานและน้ำอัดลม 9. ฝึกวิธีดื่มกินให้สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย 10. เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญ เติบโตและพัฒนาการ

32 ข้อปฏิบัติการให้อาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กอายุ 1-5 ปี
ให้อาหารมื้อหลัก 3 มื้อ และอาหารว่างไม่เกิน 2 มื้อต่อวัน ให้อาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย เป็นประจำ ทุกวัน ให้นมแม่ต่อเนื่องถึง 2 ปี เสริมนมรสจืดวันละ 2-3 แก้ว 4. ฝึกให้กินผักและผลไม้จนเป็นนิสัย 5. ให้อาหารว่างที่มีคุณภาพ 6. ฝึกให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่หวานจัด ไม่มันจัด และ ไม่เค็มจัด

33 ข้อปฏิบัติการให้อาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กอายุ 1-5 ปี
7. ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย 8. ให้ดื่มน้ำสะอาด หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มปรุงแต่งรสหวานและ น้ำอัดลม 9. ฝึกวินัยการกินอย่างเหมาะสมตามวัย จนเป็นนิสัย 10. เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญ เติบโตและพัฒนาการ

34 เป็นเครื่องมือที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ โดยสื่อสารถึง
ธงโภชนาการ เป็นเครื่องมือที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ โดยสื่อสารถึง ความหลากหลายของชนิดอาหาร สัดส่วนของอาหาร ปริมาณของอาหาร

35 กลุ่มที่ 1 ข้าว-แป้ง ให้คาร์โบไฮเดรต เป็นแหล่งให้พลังงานแก่ร่างกาย
ช่วยให้มีแรงวิ่งเล่นและทำกิจกรรมต่างๆ

36 กลุ่มที่ 1 ข้าว-แป้ง 1 ทัพพี
กลุ่มที่ 1 ข้าว-แป้ง 1 ทัพพี ชนิดอาหาร ปริมาณ ข้าวสวย, ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็ก-ใหญ่, บะหมี่, มะกะโรนีสุก, เผือกสุก 1 ทัพพี ขนมจีน 1 จับ ขนมปัง 1 แผ่น ข้าวโพดสุก 1 ฝักเล็ก ข้าวเหนียวนึ่ง 1/2 ทัพพี เส้นหมี่ 2 ทัพพี วุ้นเส้น มันเทศสุก

37 ข้าว-แป้ง 1 ทัพพี

38 กลุ่มที่ 2 ผัก ผักใบเขียวเข้ม เป็นแหล่งของวิตามินเอ และธาตุเหล็ก
กลุ่มที่ 2 ผัก ให้วิตามิน แร่ธาตุ และใยอาหาร มีสารต้านมะเร็ง ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ ให้เป็นปกติ ผักใบเขียวเข้ม เป็นแหล่งของวิตามินเอ และธาตุเหล็ก ผักสีเหลือง-ส้ม เป็นแหล่งของวิตามินเอ

39 กลุ่มที่ 2 ผัก 1 ทัพพี ชนิดผัก ปริมาณ ผักสุก 1 ทัพพี ผักดิบที่เป็นใบ 2 ทัพพี ผักดิบที่เป็นพืชหัว/ฝัก - ถั่วฝักยาว - มะเขือเปราะ - ถั่วงอก - แตงกวา - มะเขือเทศ 1 ทัพพี 1.5 ทัพพี 2 ทัพพี 3 ทัพพี

40 ผัก 1 ทัพพี

41 ผลไม้สีเหลือง-ส้ม เป็นแหล่งของวิตามินเอ
กลุ่มที่ 3 ผลไม้ ให้วิตามิน แร่ธาตุ และใยอาหาร มีสารต้านมะเร็ง ช่วยการทำงานของอวัยวะต่างๆให้เป็นปกติ ผลไม้สีเหลือง-ส้ม เป็นแหล่งของวิตามินเอ

42 กลุ่มที่ 3 ผลไม้ 1 ส่วน ขนาด ชนิดผลไม้ ปริมาณ เล็กมาก องุ่น, ลำไย 8-10 ผล เล็ก เงาะ, มังคุด 4 ผลกลาง ปานกลาง ชมพู่, ส้มเขียวหวาน 2 ผล กล้วยน้ำหว้า, กล้วยไข่ 1 ผลกลาง ฝรั่ง, มะม่วงสุก 1/2 ผล ใหญ่ มะละกอสุก, สับปะรด 6 ชิ้นพอคำ แตงโม 6 ชิ้นพอคำหรือ 3 ชิ้นใหญ่

43 ผลไม้ 1 ส่วน

44 กลุ่มที่ 4 เนื้อสัตว์ ตับสุก เลือดสุก เป็นแหล่งของธาตุเหล็ก
กลุ่มที่ 4 เนื้อสัตว์ ให้โปรตีน บางชนิดเป็นแหล่งแคลเซียม ธาตุเหล็ก วิตามินเอ ช่วยในการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วน ที่สึกหรอ สร้างภูมิต้านทานโรค ตับสุก เลือดสุก เป็นแหล่งของธาตุเหล็ก ตับสุก ไข่แดงต้มสุก เป็นแหล่งของวิตามินเอ

45 กลุ่มที่ 4 เนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว
กลุ่มที่ 4 เนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว อาหาร ปริมาณ เนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว ไข่ไก่ 1/2 ฟอง เต้าหู้ก้อน 2 ช้อนกินข้าว เต้าหู้หลอดขาว ช้อนกินข้าว (ครึ่งหลอด) ถั่วเขียว, ถั่วดำ, ถั่วลิสง

46 เนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว

47 กลุ่มที่ 5 นมและผลิตภัณฑ์
กลุ่มที่ 5 นมและผลิตภัณฑ์ ให้แคลเซียม ช่วยสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง ช่วยการเจริญเติบโตของเด็ก

48 กลุ่มที่ 5 นม 1 แก้ว ชนิดของนม ปริมาณ นมสดจืด, นมพร่องมันเนย, นมขาดมันเนย มิลลิลิตร โยเกิร์ต 1½ (1 ถ้วย=150 กรัม) ปลาตัวเล็ก 2 ช้อนกินข้าว ปลากระป๋อง 1 ชิ้น เต้าหู้อ่อน 6 ช้อนกินข้าว

49 นม 1 แก้ว

50 ใช้แต่น้อยเท่าที่จำเป็น
ปริมาณอาหารใน 1 วัน กลุ่มอาหาร เด็กอายุ 1-3 ปี เด็กอายุ 4-5 ปี ข้าว-แป้ง 3 ทัพพี 5 ทัพพี ผัก 2 ทัพพี (6 ช้อนกินข้าว) ผลไม้ 3 ส่วน เนื้อสัตว์ 3 ช้อนกินข้าว นม 2 แก้ว/กล่อง/ถุง 2-3 แก้ว/กล่อง/ถุง น้ำมัน กะทิ น้ำตาล ใช้แต่น้อยเท่าที่จำเป็น

51 อาหารว่างที่มีประโยชน์
ช่วยเสริมสารอาหารให้เพียงพอต่อร่างกาย มีวิตามินและแร่ธาตุ มีปริมาณไขมัน/น้ำมัน น้ำตาล และเกลือต่ำ อาหารว่าง 2 มื้อต่อวัน ควรกินก่อนอาหารมื้อหลัก ประมาณ 1½ - 2 ชั่วโมง

52 อาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
นมสดรสจืด ผลไม้สด หากเป็นผลไม้ตากแห้งต้องไม่เติมน้ำตาล เช่น กล้วยตากไม่ชุบน้ำผึ้ง พืชหัว เช่น ข้าวโพดเหลืองต้ม มันเทศต้ม เผือกต้ม เป็นต้น ถั่วเมล็ดแห้ง เช่น ถั่วลิสงต้ม เป็นต้น ขนมไทยรสไม่หวานจัด ควรมี กลุ่มข้าวแป้งที่เป็นพืชหัว ถั่วเมล็ดแห้ง ผัก หรือผลไม้ เป็นส่วนประกอบ อาหารว่างอื่น ๆ โดยมีกลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์(ถั่ว เมล็ดแห้ง) หรือกลุ่มนม เป็นส่วนประกอบ เช่น ซาลาเปาไส้ หมูแดง ขนมจีบ แซนวิชไส้ทูน่า ขนมปังไส้หมูหยอง เป็นต้น

53 การประเมินการเจริญเติบโต
เด็กปฐมวัย

54 เป้าหมายการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต
และภาวะโภชนาการ การเจริญเติบโตที่ดีอยู่แล้ว ให้คงอยู่ การเจริญเติบโตดีขึ้นมากกว่าเดิม

55 ขั้นตอนการเฝ้าระวัง การเจริญเติบโต และภาวะโภชนาการ
ประเมินการเจริญเติบโต ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แจ้งและอธิบายผลการประเมิน ให้คำแนะนำการบริโภคอาหารเป็นรายคน ส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข กรณี พบเด็กที่ มีปัญหาด้านโภชนาการที่รุนแรง

56 ประเมินการเจริญเติบโต
ชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง แปลผล

57 เทคนิค การชั่งน้ำหนัก และ วัดส่วนสูง

58 การเตรียมเครื่องชั่งน้ำหนัก
1. เด็กก่อนวัยเรียน ให้ใช้เครื่องชั่งน้ำหนักที่มีความละเอียด 0.1 กิโลกรัม

59 ฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย
2. ตรวจสอบเครื่องชั่งน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ก่อนทำการชั่งทุกครั้ง ฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

60 ณัวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย
3. วางเครื่องชั่งน้ำหนักอยู่บนพื้นราบ มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการอ่านตัวเลข และปรับให้เข็มอยู่ที่เลข 0 ทุกครั้งที่มีการใช้งาน 4. ควรใช้เครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตามการเจริญเติบโต ณัวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

61 อ่านค่าให้ละเอียดมีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม
วิธีการชั่งน้ำหนัก ถอดเสื้อผ้าที่หนาๆออก ให้เหลือเท่าที่จำเป็น รวมทั้งถอดรองเท้าและถุงเท้า นำสิ่งของออกจากตัว ถ้าใช้เครื่องชั่งน้ำหนักแบบยืนที่มีเข็ม ผู้ที่อ่านค่าน้ำหนักจะต้องอยู่ในตำแหน่งตรงกันข้ามกับเด็ก ไม่ควรอยู่ด้านข้างทั้งซ้ายหรือขวาเพราะจะทำให้อ่านค่าน้ำหนักมากไปหรือน้อยไปได้ อ่านค่าให้ละเอียดมีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม

62 การวัดส่วนสูงของเด็ก
เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ให้นอนวัด เรียกว่า วัดความยาว เด็กอายุ 2 ปีขึ้นไป ให้ยืนวัด เรียกว่า วัดส่วนสูง

63 การเตรียมเครื่องวัดความยาว/ส่วนสูง
ตัวเลขมีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร และเรียงต่อกัน มีไม้ฉากสำหรับวัดค่าความยาว/ส่วนสูง

64 วิธีการวัดความยาว 4. อ่านค่าให้ละเอียด
มีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น เซนติเมตร 3. เลื่อนไม้วัดส่วนที่ใกล้เท้าให้มาชิดกับปลายเท้าและส้นเท้าที่ตั้งฉากกับพื้น 1. ถอดหมวก รองเท้า 2. นอนในท่าขาและเข่า เหยียดตรงส่วนศีรษะชิด กับไม้วัดที่ตั้งฉากอยู่กับที่

65 วิธีการวัดส่วนสูง อ่านค่าส่วนสูง ระดับสายตา ท่าศีรษะและเท้าที่ถูกต้อง
เครื่องวัดส่วนสูง ไม้ฉาก ศีรษะชิด เครื่องวัดส่วนสูง หลังชิด เครื่องวัดส่วนสูง ท่าศีรษะและเท้า ไม่ถูกต้อง ก้นชิดเครื่องวัดส่วนสูง เข่าชิด เข่าตรง ส้นเท้าชิดเครื่องวัดส่วนสูง ถอดรองเท้า ถุงเท้า และยืนบนพื้นราบ

66

67

68 ประเมินภาวะการเจริญเติบโต ประเด็นสำคัญของการแปลผล
ภาวะการเจริญเติบโตเด็ก ตำแหน่งของส่วนสูงและน้ำหนัก แนวโน้มการเจริญเติบโต วิธีการโดย จุดน้ำหนัก-ส่วนสูง และลากเส้นเชื่อมจุดบน กราฟการเจริญเติบโตของเด็ก

69 การใช้กราฟการเจริญเติบโต
เกณฑ์การเจริญเติบโต เด็กแรกเกิด-5 ปี 1. น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ 2. ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ 3. น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

70 น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ แสดงผลมาจากการบริโภคอาหาร ซึ่งจะบอกในภาพรวม จึงไม่เห็นลักษณะการเจริญเติบโตอย่างชัดเจน ไม่ใช้ในการประเมินภาวะอ้วน

71 ยังบอกไม่ได้ว่า อ้วนหรือไม่ ต้องใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
น้ำหนักอาจอยู่ใน เกณฑ์เสี่ยงต่อน้ำหนัก มากเกินเกณฑ์ ต้องใช้ กราฟน้ำหนักตาม เกณฑ์ส่วนสูง

72 น้ำหนักอยู่ในกณฑ์การเจริญเติบโตดี

73 น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ขาดอาหาร
เกณฑ์ เสี่ยงต่อ การขาดอาหาร น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ขาดอาหาร

74 ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ แสดงผลมาจากการบริโภคอาหารในระยะยาว หรือในอดีตที่ผ่านมาเป็นเวลานาน

75 ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์การเจริญเติบโตดีมากๆ

76 ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงต่อการขาดอาหารแบบเรื้อรัง
ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ขาดอาหาร แบบเรื้อรัง

77 น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
บอกให้รู้ถึงภาวะอ้วน-ผอม แสดงผลของการกินอาหารในระยะสั้น

78 น้ำหนักอยู่ใน ภาวะอ้วนระดับ 2 น้ำหนักอยู่ใน ภาวะอ้วนระดับ 1

79 น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงต่อภาวะอ้วน

80 น้ำหนัก อยู่ในเกณฑ์ การเจริญเติบโตดี

81 น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ที่เสี่ยงต่อการขาดอาหาร
น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ขาดอาหารแบบเฉียบพลัน

82 ลักษณะการเจริญเติบโตที่ดี
ลำดับ ส่วนสูง ตามเกณฑ์อายุ น้ำหนัก ตามเกณฑ์ส่วนสูง 1. สูงกว่าเกณฑ์ สมส่วน 2. ค่อนข้างสูง 3. สูงตามเกณฑ์

83 การใช้ดัชนีร่วมกันในการแปลผลภาวะการเจริญเติบโต
น้ำหนัก/ อายุ ส่วนสูง/ อายุ น้ำหนัก/ส่วนสูง น้ำหนักค่อนข้างน้อย สูงตามเกณฑ์ ผอม เด็กมีความสูงปกติดี แต่ขณะนี้มีการขาดอาหาร น้ำหนักจึงน้อยกว่าปกติ ทำให้มีรูปร่างผอม

84 การใช้ดัชนีร่วมกันในการแปลผลภาวะการเจริญเติบโต
น้ำหนัก/ อายุ ส่วนสูง/ อายุ น้ำหนัก/ส่วนสูง น้ำหนักตามเกณฑ์ สูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างผอม เด็กมีความสูงดี แต่ต้องระวังในเรื่องน้ำหนัก ถ้าน้ำหนักน้อยกว่านี้จะผอม

85 การใช้ดัชนีร่วมกันในการแปลผลภาวะการเจริญเติบโต
น้ำหนัก/ อายุ ส่วนสูง/ อายุ น้ำหนัก/ส่วนสูง น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ สูง สมส่วน เด็กมีรูปร่างสูงใหญ่ แม้น้ำหนักตามอายุ จะมากเกินเกณฑ์ แต่ก็มีส่วนสูงสูงมากด้วย จึงมีรูปร่างสมส่วน ถือว่า มีภาวะการเจริญเติบโตดี

86 น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
การใช้ดัชนีร่วมกันในการแปลผลภาวะการเจริญเติบโต ภาวะการเจริญเติบโต การแปลผล น้ำหนัก/ อายุ ส่วนสูง/ อายุ น้ำหนัก/ส่วนสูง น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย สมส่วน เด็กมีภาวะเตี้ย ซึ่งเป็นผลจากการขาดอาหารมานานในอดีต และปัจจุบันร่างกายปรับตัวให้มีขนาดเล็กพอเหมาะกับอาหารที่บริโภคซึ่งไม่เพียงพอ จึงมีรูปร่างสมส่วน

87 น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
การใช้ดัชนีร่วมกันในการแปลผลภาวะการเจริญเติบโต ภาวะการเจริญเติบโต การแปลผล น้ำหนัก/ อายุ ส่วนสูง/ อายุ น้ำหนัก/ส่วนสูง น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม มีภาวะเตี้ย ซึ่งเป็นผล จากการขาดอาหารเป็นระยะเวลานานในอดีต และปัจจุบันยังมีการขาดอาหารจึงมีรูปร่างผอม

88 การใช้ดัชนีร่วมกันในการแปลผลภาวะการเจริญเติบโต
น้ำหนัก/ อายุ ส่วนสูง/ อายุ น้ำหนัก/ส่วนสูง น้ำหนักตามเกณฑ์ เตี้ย อ้วน มีภาวะเตี้ย ซึ่งเป็นผล จากการขาดอาหารเป็นระยะเวลานานในอดีต แต่ปัจจุบันกินอาหารมากเกินไปจึงมีรูปร่างอ้วน

89 แนวโน้มการเจริญเติบโต
ความหมายของ แนวโน้มการเจริญเติบโต

90 1 2 3 ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับดี “สูงกว่ากณฑ์” และ
แนวโน้มการเจริญเติบโตดี “สูงกว่าเกณฑ์” และ แนวโน้มการเจริญเติบโต ดีมาก “สูงกว่าเกณฑ์” และ แนวโน้มการเจริญเติบโต ไม่ดี

91 2 3 ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับดี 1 “สูงตามกณฑ์” และ
แนวโน้มการเจริญเติบโตดี “สูงตามกณฑ์” และ มีแนวโน้มการเจริญเติบโตดีมาก (ไปทางสูง) “สูงตามกณฑ์” แต่ มีแนวโน้มการเจริญเติบโตไม่ดี (ไปทางเตี้ย)

92 1 2 3 ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับดี “สมส่วน” และ
มีแนวโน้มการเจริญเติบโตดี “สมส่วน” แต่ มีแนวโน้มการเจริญเติบโตไม่ดี (ไปทางอ้วน) “สมส่วน” แต่ มีแนวโน้มการเจริญเติบโตไม่ดี (ไปทางผอม)

93 1 2 3 ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับขาดอาหาร “เตี้ย”
และมีแนวโน้มการเจริญเติบโตเหมือนเดิม แสดงว่า ส่วนสูงเพิ่มในอัตราเท่าเดิม “เตี้ย” และมีแนวโน้มการเจริญเติบโตแย่ลง แสดงว่า ส่วนสูงเพิ่มน้อยลง “เตี้ย” แต่มีแนวโน้มการเจริญเติบโตดีขึ้น แสดงว่า ส่วนสูงเพิ่มขึ้นดีแล้ว

94 1 2 3 ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับขาดอาหาร “ผอม” และมีแนวโน้ม
การเจริญเติบโตเหมือนเดิม แสดงว่า น้ำหนักเพิ่มในอัตราเท่าเดิม “ผอม” และมีแนวโน้มการจริญเติบโต แย่ลง แสดงว่า น้ำหนักเพิ่มน้อยลง “ผอม” แต่มีแนวโน้มการจริญเติบโต ดีขึ้น แสดงว่า น้ำหนักเพิ่มขึ้นดีแล้ว

95 ภาวะการเจริญเติบโตอยู่ในระดับอ้วน
1 2 3 “อ้วน” และมีแนวโน้ม การเจริญเติบโตเหมือนเดิม แสดงว่า น้ำหนักยังคงเพิ่มมากเกินไป “อ้วน” และมีแนวโน้ม การเจริญเติบโตแย่ลง แสดงว่า น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างมาก “อ้วน” และมีแนวโน้ม การเจริญเติบโต ดีขึ้น แสดงว่า น้ำหนักเพิ่มขึ้นในอัตราลดลง

96 2. การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
เพื่อดูว่าพฤติกรรมใดเหมาะสม พฤติกรรมใดไม่ เหมาะสม ประเมินทุก 3 เดือน แบบประเมินมี 2 กลุ่ม คือ อายุ 1-3 ปี และ อายุ 4-5 ปี ก่อนการประเมินควรให้ความรู้ในเรื่องธงโภชนาการ ควรมีหุ่นจำลองอาหารหรืออาหารจริงเป็นตัวอย่าง ประกอบการสอน เป็นทั้งเครื่องมือประเมินและเครื่องมือในการให้ความรู้

97 แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 1-3 ปี
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ น้อยกว่า มาก กว่า 1. กินอาหารเช้าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้าว-แป้ง และเนื้อสัตว์ หรือกลุ่มข้าว-แป้งและนม ทุกวัน 2. กินอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ (เช้า กลางวัน เย็น) ทุกวัน 3. กินอาหารว่าง วันละ 2 ครั้ง (ช่วงสาย และช่วงบ่าย) ทุกวัน 4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม 4.1 กินอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง วันละ 3 ทัพพี 4.2 กินอาหารกลุ่มผักวันละ 2 ทัพพี ทุกวัน 4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 3 ส่วน ทุกวัน 4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 3 ช้อนกินข้าว ทุกวัน 4.5 ดื่มนม นมสดรสจืด วันละ 2 แก้วหรือกล่อง ทุกวัน สำหรับเด็กไม่อ้วนและเด็กอ้วนอายุ 1-2 ปี นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย (รสจืด) วันละ 2 แก้วหรือกล่อง ทุกวัน สำหรับเด็กอายุ 3 ปีที่มีภาวะอ้วน

98 แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 1-3 ปี
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ น้อยกว่า มากกว่า 5. กินปลาสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วัน 6. กินไข่ สัปดาห์ละ 3-7 วัน ๆ ละ 1 ฟอง 7. กินอาหารที่เป็นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง 8. กินวิตามินน้ำธาตุเหล็ก (เลือกให้ตรงกับภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 1 ช้อนชา สำหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี ทุกวัน ๆ ละ 1 ช้อนชา สำหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง เป็นเวลา 1 เดือน 9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก) ไม่มากกว่า 4 อย่างต่อวัน สำหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี ไม่มากกว่า 3 อย่างต่อวันสำหรับเด็กอ้วนและกลุ่มเสี่ยง มากกว่า 4 อย่างต่อวันสำหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง

99 แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 1-3 ปี
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ 10. ไม่กินเนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ด 11. ไม่กินขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็นต้น 12. ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น น้ำอัดลม น้ำหวาน โกโก้เย็น ชาเย็น น้ำปั่น น้ำผลไม้ นมเปรี้ยว เป็นต้น 13. ไม่กินขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ก พาย โดนัท เป็นต้น 14. ไม่กินขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็นต้น 15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น น้ำปลา ซี้อิ๊ว แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ว 16. ไม่เติมน้ำตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ว

100 3. แจ้งผลและอธิบายผล ให้พ่อแม่/ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง
ภาวะการเจริญเติบโต แนวโน้มภาวะการเจริญเติบโต พฤติกรรมการบริโภคอาหาร เพื่อจัดอาหาร/ดูแลการกินอาหารได้อย่างเหมาะสมกับภาวะการเจริญเติบโต และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

101 4.ให้คำแนะนำ/ปรึกษาโภชนาการ
เป็นรายบุคคล 4.1 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก กินอาหารให้ครบ 5 กลุ่ม ทุกวัน ในปริมาณที่เหมาะสมตามวัยและกินให้หลากหลาย ได้แก่ กลุ่มข้าว-แป้ง กินที่ขัดสีน้อย และที่เป็นธรรมชาติ กลุ่มผักและผลไม้ กินเป็น ประจำทุกวัน และหลากหลายสี เช่น สีเหลือง-ส้ม เป็นแหล่งของ วิตามินเอ

102 4.1 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
กลุ่มเนื้อสัตว์ กินให้หลากหลาย โดยเฉพาะ กินปลา อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน จะช่วยให้ ได้รับ DHA ซึ่งเป็นกรดไขมันจำเป็น ช่วยการ เรียนรู้ จดจำ กินอาหารที่เป็นแหล่งแร่ธาตุเหล็กสัปดาห์ละ 1-2 วัน เช่น ตับ เลือด เป็นต้น กินไข่ สัปดาห์ละ 3-7 วัน กลุ่มนม ดื่มนมสดรสจืดทุกวัน ส่วนแหล่งแคลเซียมจากอาหารอื่น เช่น โยเกิร์ต เต้าหู้แข็ง-อ่อน เป็นต้น

103 4.1 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
จัดอาหารให้สะดวกแก่การกิน โดยหั่นอาหารให้มีขนาดเล็ก ตักง่าย เคี้ยวง่าย กินอาหารมื้อหลักวันละ 3-4 มื้อ กินอาหารระหว่างมื้อ 2-3 มื้อ ได้แก่ อาหารว่างเช้าและบ่าย โดยเลือกอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ไม่หวาน ไม่เค็ม ไม่มัน ควรกินอาหารว่างก่อนเวลาอาหารประมาณ 1½ ชั่วโมง – 2 ชั่วโมง

104 4.1 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
ใช้เกลือหรือเครื่องปรุงรสเค็มเสริมไอโอดีนในการปรุง อาหารทุกครั้ง : ปรุงด้วยเกลือไม่เกินวันละ 1/2 ช้อนชา หรือน้ำปลาไม่เกินวันละ 2 ช้อนชา นอนหลับพักผ่อนเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 10 ชั่วโมง ลดกิจกรรมนั่ง ๆ นอนๆ เช่น ดูทีวี เล่นเกมส์ เป็นต้น ส่งเสริมให้มีกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย และ/หรือ ออกกำลังกายเหมาะสมตามวัยเป็นประจำ เช่น วิ่งเล่น กิจกรรมเข้าจังหวะ เป็นต้น

105 4.2 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารสำหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
เพิ่มปริมาณอาหารที่ให้พลังงาน เพื่อให้เด็กมีน้ำหนักและ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น ได้แก่ อาหารประเภทข้าว-แป้ง เช่น ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมปัง เผือก มัน อาหารไขมัน เช่น น้ำมันพืช โดยการปรุง อาหารด้วยวิธีทอดหรือผัด และกะทิอาจทำ เป็นกับข้าวหรือขนมหวานแบบไทยๆ เด็กเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย ให้กินอาหารพวกเนื้อสัตว์ และ/หรือดื่มนมสดรสจืดเพิ่มขึ้น หากกินไม่เพียงพอ

106 4.2 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารสำหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
การเพิ่มอาหาร ต้องค่อยๆ เพิ่มปริมาณจนกว่าได้ตามที่แนะนำ และต้องดูแลกินอาหารให้หมด ลดปริมาณอาหาร หากบริโภคมากกว่าที่แนะนำ เช่น นม เพิ่มปริมาณและจำนวนครั้งของอาหารว่าง เป็น 3-4 มื้อ ได้แก่ ช่วงสาย ช่วงบ่าย และช่วงค่ำ และให้ก่อนเวลา อาหารมื้อหลักประมาณ 1½ - 2 ชั่วโมง งดกินขนม-เครื่องดื่มที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่ำ เช่น ขนมขบเคี้ยว ขนม-เครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด เป็นต้น

107 4.2 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารสำหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
เพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายหรือออกกำลังกายอย่าง เหมาะสม เช่น เดิน วิ่งเล่น กิจกรรมเข้าจังหวะ ให้เด็กนอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 10 ชั่วโมง

108 4.3 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารสำหรับเด็กอ้วนและกลุ่มเสี่ยง
อย่าอดอาหารมื้อหลัก หรือลดปริมาณอาหารมากเกินไป เนื่องจากเด็กกำลังเจริญเติบโต ดังนั้นการจัดการน้ำหนักจึงควรทำในลักษณะควบคุมน้ำหนัก ไม่ให้เพิ่มมากเกินไป ไม่ใช่ลดน้ำหนัก การลดหรือเพิ่มอาหาร ต้อง ค่อยๆ ลดหรือเพิ่มปริมาณทีละ น้อย จนกว่าได้ตามที่แนะนำ

109 4.3 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารสำหรับเด็กอ้วนและกลุ่มเสี่ยง
ลดปริมาณอาหารที่ให้พลังงานหากกินมากกว่าที่แนะนำ ได้แก่ กลุ่มข้าว-แป้ง เช่น ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมปัง เผือก มัน เป็นต้น กลุ่มไขมัน เช่น น้ำมัน กะทิ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วย วิธีการทอด ผัด แกงกะทิหรือขนมที่ใส่กะทิ ให้เปลี่ยนเป็น อาหารที่ปรุงโดยการต้ม ตุ๋น นึ่ง ปิ้ง อบ ยำ แทน หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น หมูติดมัน หนังไก่ ไส้กรอก เป็นต้น กินผัก ผลไม้รสไม่หวานจัดเพิ่มขึ้น

110 4.3 แนวทางการให้คำแนะนำ/ปรึกษาการบริโภคอาหารสำหรับเด็กอ้วนและกลุ่มเสี่ยง
เปลี่ยนชนิดของนมจากนมสดรสจืด เป็น นมขาดมันเนย หรือ นมพร่องมันเนย(รสจืด) ในเด็กอายุ 3 ปีขึ้นไป งดกินขนม-เครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด เช่น ลูกอม ชอคโกแล็ต เยลลี่ น้ำหวาน น้ำอัดลม งดกินขนมเบเกอร์รี่ เช่น เค็ก โดนัท พาย เป็นต้น งดกินจุบจิบ เช่น ขนมกรุบกรอบ ไม่ควรมีอาหาร/ ขนม/ เครื่องดื่มที่ให้พลังงานสูงไว้ในบ้าน มากเกินไป ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกายและ/หรือออกกำลังกาย เพิ่มขึ้น

111 พบเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการที่รุนแรง
การส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข กรณี พบเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการที่รุนแรง เด็กที่มีปัญหาขาดสารอาหารหรือมีภาวะอ้วนรุนแรง สถานที่ให้บริการ งานส่งเสริมสุขภาพ ในวันศุกร์ สัปดาห์แรกของเดือน พบแพทย์เพื่อรับการตรวจร่างการ และวินิจฉัย เพื่อค้นหา สาเหตุอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การตรวจหาพยาธิ ตรวจภาวะซีด จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก และยาวิตามินอื่นๆ

112 ที่ช่วยดูแลให้หนู(ผม)มีโภชนาการดี “เด็กไทยเติบโตดี ฉลาด แข็งแรง”
ขอบคุณค่ะ(ครับ) ที่ช่วยดูแลให้หนู(ผม)มีโภชนาการดี “เด็กไทยเติบโตดี ฉลาด แข็งแรง”


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google