งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำกับดูแลก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำกับดูแลก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำกับดูแลก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)
วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน 2554 โดย สำนักบริการธุรกิจและการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง

2 ปริมาณการผลิต นำเข้า และความต้องการใช้ LPG
พันตัน/เดือน หน่วย : พันตัน/เดือน ปี 2549 2550 2551 2552 2553 2554 ความต้องการใช้ 283 322 372 398 456 534 ผลิตในประเทศ 343 335 336 329 424 นำเข้า 37 61 131 92 หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค. 24/6/54

3 สถานการณ์ก๊าซ LPG ปี 2553 - 2554 เฉลี่ย/เดือน ปี 2553 ปี 2554 ม.ค.
หน่วย : พันตัน/เดือน เฉลี่ย/เดือน ปี 2553 ปี 2554 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. การผลิต 329 412 372 433 446 458 424 การจำหน่าย 456 538 483 556 539 554 534 การนำเข้า 131 113 112 90 72 92 หมายเหตุ : - เป็นปริมาณที่รวมโพรเพน และบิวเทน - ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.–พ.ค. 24/6/54

4 ปริมาณการนำเข้า LPG และเงินที่รัฐจ่ายชดเชย
ปี พ.ศ. ปริมาณนำเข้า(ตัน) เงินชดเชย/ปี (ล้านบาท) ต่อปี เฉลี่ย/เดือน 2551 446,891 37,240 7,968 2552 737,040 61,420 6,809 2553 1,567,064 130,589 21,885 2554 459,749 91,950 8,682 หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค. 24/6/54

5 ปริมาณความต้องการใช้ LPG รวม 4 สาขา อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)
หน่วย : พันตัน/เดือน สาขา 2549 2550 2551 2552 2553 2554 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ก๊าซหุงต้ม 143 157 177 186 203 214 9.5 12.7 5.0 9.2 5.4 รถยนต์ 38 48 65 56 57 69 24.7 35.6 -14.1 2.1 22.0 อุตสาหกรรม 43 51 55 49 17.4 8.8 -10.8 31.2 0.7 ปิโตรเคมี 58 66 75 107 132 14.3 12.3 43.1 23.5 40.7 รวม 283 322 372 398 456 534 13.7 15.4 7.0 14.8 17.0 หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค. 24/6/54

6 ปริมาณความต้องการใช้ LPG รวม 4 สาขา
พันตัน/เดือน หน่วย : พันตัน/เดือน ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 ความต้องการใช้ LPG รวม 146 144 149 176 199 206 213 231 256 283 322 372 398 456 529 อัตราการเติบโต 3.4% -1.3% 3.1% 18.0% 13.6% 3.2% 3.6% 8.3% 11.0% 10.5% 13.7% 15.4% 7.0% 14.8% 17.0% หมายเหตุ: ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-เม.ย. 24/6/54

7 เปรียบเทียบการเติบโตของการใช้ก๊าซ LPG รายสาขา
พันตัน/เดือน ภาคครัวเรือน พันตัน/เดือน ภาคขนส่ง ภาคปิโตรเคมี พันตัน/เดือน ภาคอุตสาหกรรม หมายเหตุ: ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค. 24/6/54

8 ราคาขาย LPG ในประเทศเพื่อนบ้าน
ราคาขาย (บาท/กก.) ลาว 46.10 พม่า 35.00 กัมพูชา 44.10 มาเลเซีย 20.42 เวียดนาม 46.80 ไทย 18.13 ที่มา : ปตท. 10 มิ.ย. 54 24/6/54

9 กฎหมายกำกับดูแลการค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว
พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ และที่ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 ออกตาม พรก. แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมัน เชื้อเพลิง พ.ศ. 2516 31/5/54

10 กฎหมายกำกับดูแลการค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว
การกำกับดูแลตาม พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 31/5/54

11 ผู้ประกอบการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง
ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 10 สถานีบริการตามมาตรา 11 ผู้ขนส่งน้ำมันตามมาตรา 12 31/5/54

12 มาตรา 7 ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่
มาตรา 7 ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ 05/04/60 ผู้ค้าน้ำมันที่มีปริมาณการค้าน้ำมันแต่ละชนิด หรือรวมกันทุกชนิดปีละ ตั้งแต่ 100,000 เมตริกตันขึ้นไป หรือผู้ค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลวชนิดเดียว ปีละตั้งแต่ 50,000 เมตริกตันขึ้นไป ต้องขอรับใบอนุญาตจากรัฐมนตรี ค่าธรรมเนียม 1) คำขอ บาท 2) ใบอนุญาต , บาท 3) การประกอบกิจการค้ารายปี - ปริมาณการค้าปีละตั้งแต่ 2 ล้านเมตริกตันขึ้นไปปีละ 100,000 บาท - ปริมาณการค้าปีละตั้งแต่ 1 แสนแต่ไม่ถึง 2 ล้านเมตริกตันปีละ 90,000 บาท - ปริมาณการค้า LPG ชนิดเดียวปีละ ,000 บาท 12 31/5/54

13 มาตรา 10 ผู้ค้าส่งน้ำมัน
มาตรา 10 ผู้ค้าส่งน้ำมัน 05/04/60 มีปริมาณการค้าน้ำมันปีละตั้งแต่ 30,000 เมตริกตันขึ้นไป (ประมาณ 36 ล้านลิตร) แต่ไม่ถึง 100,000 เมตริกตัน (ประมาณ 120 ล้านลิตร) หรือ มีความจุถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงรวมกันทุกชนิดเกิน 200,000 ลิตร ค่าธรรมเนียม : 1) คำขอ 2) ใบทะเบียน ฉบับละ 3) การประกอบกิจการค้ารายปี ปีละ 100 บาท 1,000 บาท 30,000 บาท 31/5/54

14 มาตรา 11 สถานีบริการ 05/04/60 ผู้ค้าน้ำมันซึ่งจัดตั้งเป็นสถานีบริการจำหน่ายน้ำมัน/ LPGให้กับประชาชนผ่านหัวจ่าย และปั๊มหยอดเหรียญ ค่าธรรมเนียม : 1) คำขอ บาท 2) ใบทะเบียน ฉบับละ ,000 บาท 3) การประกอบกิจการค้ารายปี - กรณีไม่เกิน 5 หัวจ่าย ปีละ 1,000 บาท - กรณีเกิน 5 หัวจ่าย คิดเพิ่มหัวจ่ายละ 100 บาท/ปี แต่รวมกันแล้วไม่เกินปีละ ,000 บาท 14 31/5/54

15 มาตรา 12 ผู้ขนส่ง 05/04/60 ผู้รับจ้างขนส่งน้ำมัน/ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ที่มีปริมาณการขนส่งครั้งละตั้งแต่ 3,000 ลิตรขึ้นไป ค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี 1) สำหรับรถยนต์ คันละ 1,000 บาท/ปี แต่รวมกันแล้วไม่เกินปีละ ,000 บาท 2) สำหรับยานพาหนะอื่น คิดค่าธรรมเนียมปีละ 5,000 บาท 3) สำหรับยานพาหนะทั้ง 1 และ 2 ค่าธรรมเนียมปีละ ,000 บาท 31/5/54

16 หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7
05/04/60 ส่งบัญชีเกี่ยวกับปริมาณการนำเข้า ซื้อ กลั่น ผลิต ได้มา จำหน่าย และคงเหลือของน้ำมันเชื้อเพลิง ในแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ส่งแผนการนำเข้า ซื้อ กลั่น ผลิต และจำหน่ายในช่วง 3 เดือนถัดไป ภายในวันที่ 20 ของทุกเดือน 31/5/54

17 หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (ต่อ)
05/04/60 ยื่นขอความเห็นชอบปริมาณการค้าประจำปี ล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 45 วัน ก่อนปีที่จะทำการค้า ผู้ค้าน้ำมันอาจขอเปลี่ยนแปลงปริมาณการค้าประจำปี ตามที่ยื่นขอความเห็นชอบไว้ได้ เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดที่อธิบดีกำหนดไว้ทุกขณะ ไม่ต่ำกว่าอัตราที่กำหนด 31/5/54

18 หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (ต่อ)
05/04/60 กรณีเปลี่ยนแปลงรายการที่ขออนุญาตไว้ต้องแจ้ง ต่ออธิบดีภายใน 30 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง การเลิกประกอบกิจการ ต้องแจ้งรัฐมนตรีทราบ ล่วงหน้า เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วันก่อนวันเลิก และต้องจำหน่ายน้ำมันที่เหลือภายใน 90 วัน นับแต่วันที่เลิก ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายใน เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี 31/5/54

19 ชนิดและอัตราการสำรอง
05/04/60 ชนิดน้ำมัน ผลิตในประเทศ นำเข้าจาก ต่างประเทศ ร้อยละ ร้อยละ น้ำมันดิบและวัตถุดิบ น้ำมันสำเร็จรูป น้ำมันที่ใช้ในกิจการทหาร 10, ,20 ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ตั้งแต่ 4 ก.ย 31/5/54

20 สถานที่ที่ใช้เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง
05/04/60 สถานที่ที่ใช้เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง ต้องเป็นสถานที่หรือที่ดังต่อไปนี้ เป็นคลังน้ำมันหรือเป็นสถานที่เก็บน้ำมันที่ ก. มีทางสำหรับรถยนต์เข้าออกได้สะดวก ข. มีถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงที่ตั้งอยู่บนบกในลักษณะ ตรึงตราถาวรซึ่งสามารถตรวจสอบปริมาณน้ำมัน ได้โดยสะดวก ค. มีท่อรับจ่าย และลานจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิง 31/5/54

21 หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 10
05/04/60 ส่งบัญชีเกี่ยวกับปริมาณการนำเข้า ซื้อ กลั่น ผลิต ได้มา จำหน่าย และคงเหลือของน้ำมันเชื้อเพลิง ในแต่ละเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป แจ้งเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้จดทะเบียนไว้ต่ออธิบดี ภายใน 30 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง แจ้งเลิกประกอบกิจการต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิก ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี 31/5/54

22 หน้าที่ของสถานีบริการตามมาตรา 11
05/04/60 แจ้งเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้จดทะเบียน เช่น ชนิดน้ำมันที่ทำการค้า จำนวนถังเก็บและหัวจ่าย หรือที่ตั้งสถานประกอบกิจการ ต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง แจ้งเลิกประกอบกิจการต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิก ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี 31/5/54

23 หน้าที่ของผู้ขนส่ง LPG มาตรา 12
05/04/60 แจ้งเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้แจ้งไว้ เช่น การเพิ่ม/ลด จำนวนรถ/เรือ ขนส่ง หรือที่ตั้งสถานประกอบกิจการ ต่อ อธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง แจ้งเลิกประกอบกิจการต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิก ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี 31/5/54

24 การขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG)
ยานพาหนะเพื่อนำติดกำกับไปกับยานพาหนะจนถึง สถานที่ส่งมอบปลายทาง โดยผู้ออกใบกำกับการ ขนส่งต้องลงลายมือชื่อกำกับไว้ด้วย (2) รายการในใบกำกับการขนส่งอย่างน้อย ต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้ 31/5/54

25 การขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ต่อ
- ชื่อผู้ค้าน้ำมันที่จ่าย LPG และสถานที่จ่าย LPG - วันที่และเลขที่ออกใบกำกับการขนส่ง LPG - ชื่อผู้รับ LPG และสถานที่ส่งมอบ - ชื่อและที่อยู่ของผู้ขนส่ง - เลขทะเบียนยานพาหนะที่ใช้ขนส่ง ในกรณีขนส่ง โดยทางเรือให้ระบุชื่อเรือ - วันและเวลาที่ออกเดินทางจากสถานที่จ่าย LPG ต้นทาง และประมาณวันและเวลาที่ถึงปลายทาง - ปริมาณ LPG ที่ขนส่ง - ระบุหมายเลขประจำตรา (SEAL) ที่ใช้ปิดผนึก ฝาท่อรับ และท่อจ่าย LPG ของยานพาหนะที่ขนส่งในแต่ละเที่ยว 31/5/54

26 การส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ต้องปฏิบัติตามประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดเงื่อนไขในการ จำหน่ายก๊าซปิโตรเลียมเหลว ไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 ผู้ส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลว ต้องเป็นผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 กรณีส่งออกก๊าซบรรจุถังหุงต้มผู้ส่งออกต้องเป็นผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 ที่เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าที่ได้ประทับอยู่ที่ถังก๊าซหุงต้ม ผู้ส่งออกก๊าซต้องขอหนังสือรับรองจากกรมธุรกิจพลังงานเพื่อแสดงต่อเจ้าพนักงานศุลกากรในการปล่อยสินค้า การส่งออกก๊าซให้ส่งออกได้เฉพาะที่หรือด่านศุลกากร ซึ่งส่งของออกได้ทุกประเภทตามที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยศุลกากร กรณีผ่านเขตแดนทางบกให้ส่งออกได้ ณ จุดผ่านแดนถาวร เท่านั้น 26 31/5/54

27 ตัวอย่างหนังสือรับรองการส่งออก
05/04/60 27 31/5/54

28 การกำกับดูแลผู้ประกอบการค้า LPG ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547
05/04/60 การกำกับดูแลผู้ประกอบการค้า LPG ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 28 31/5/54

29 พระราชกำหนดแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลน น้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2516
05/04/60 มาตรา 3 ...นายกรัฐมนตรีมีอำนาจออกคำสั่งเพื่อกำหนด มาตรการเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่าย การ ขนส่ง การมีไว้ใน ครอบครอง การสำรอง การ ส่งออก และนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงทุกชนิด มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก นายก มีอำนาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่.... คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 4/2547 เรื่อง กำหนดมาตรการเพื่อการแก้ไขและป้องกันภาวะการ ขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง 31/5/54

30 สาระสำคัญของคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 4/2547
โรงบรรจุก๊าซ ต้องขอรับเครื่องหมายประจำตัว และในการบรรจุก๊าซ ต้องปิดผนึกวาล์วถังก๊าซหุงต้มให้แน่นหนาด้วย Seal ที่แสดง เครื่องหมายประจำโรงบรรจุ ห้ามผู้ใดขายก๊าซหุงต้มที่ไม่ปิดผนึก Seal (ที่แสดงเครื่องหมาย ประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ) ห้ามผู้ใดขายก๊าซที่ไม่ได้บรรจุในถังก๊าซหุงต้มให้แก่ โรงบรรจุก๊าซ ห้ามผู้ใดขายก๊าซที่ไม่ได้บรรจุในถังก๊าซหุงต้มให้แก่ สถานีบริการ น้ำมันเชื้อเพลิง ยกเว้นผู้ค้ามาตรา 7 ห้ามมิให้ผู้ใดนำก๊าซที่บรรจุในถังก๊าซหุงต้มไปใช้กับยานพาหนะหรือ ถ่ายก๊าซออกจากถังก๊าซหุงต้มนอกสถานที่บรรจุก๊าซ 31/5/54

31 สาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
เรื่อง ระเบียบอนุญาตให้ผู้ค้าน้ำมันตามาตรา 7 มอบหมายให้ผู้ค้าน้ำมัน มาตรา 7 รายอื่น หรือผู้บรรจุก๊าซรายใดเป็นผู้บรรจุก๊าซแทนฯ หนังสืออนุญาต(แบบ นพ.ก 3) มีอายุ 3 ปี ให้แจ้งการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับชื่อ สถานที่ตั้ง ตัวแทนค้าต่าง หรือการยกเลิกการมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการบรรจุก๊าซแทน ภายใน 30 วัน นับแต่วันเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก ผู้บรรจุก๊าซต้องยื่นขอรับเครื่องหมายประจำตัว และในการบรรจุ ก๊าซต้องปิดผนึกลิ้นถังก๊าซหุงต้มด้วยอุปกรณ์ปิดผนึกลิ้น หรือ Seal ซึ่งแสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซที่เห็นได้ชัดเจน และติดแน่น 31/5/54

32 สาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงาน (ต่อ)
ยื่นคำขอต่ออายุภายในสามสิบวันก่อนวันที่ หนังสืออนุญาตหมดอายุ เมื่อยื่นคำขอต่ออายุหนังสืออนุญาตแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปจนกว่าจะได้รับแจ้งการ ไม่อนุญาต 31/5/54

33 สาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงาน (ต่อ)
อธิบดีกรมธุรกิจพลังงานจะสั่งพักใช้หรือเพิกถอน ตามควรแก่กรณี ในกรณีโรงบรรจุ กระทำการฝ่าฝืน กฎหมาย ดังนี้ บรรจุก๊าซโดยไม่ปิดซีล บรรจุก๊าซขาดน้ำหนัก บรรจุก๊าซลงในถังที่ไม่ได้มาตรฐาน บรรจุก๊าซข้ามยี่ห้อ กรณีถูกสั่งเพิกถอนหนังสืออนุญาตแล้วจะไม่พิจารณา ออกหนังสืออนุญาตให้จนกว่าจะพ้น 1 ปี ไปแล้ว 31/5/54

34 หลักเกณฑ์การสั่งพักใช้หรือเพิกถอน การอนุญาตให้บรรจุก๊าซแทน
กระทำผิดครั้งที่ 1 แจ้งเตือนภาคทัณฑ์ กระทำผิดครั้งที่ 2 พักใช้หนังสืออนุอนุญาตมอบหมายบรรจุก๊าซแทนเป็นเวลา 1 เดือน กระทำผิดครั้งที่ 3 เพิกถอนหนังสืออนุอนุญาตมอบหมายบรรจุก๊าซแทน การพิจารณาการกระทำผิดแต่ละครั้ง ไม่คำนึงว่าเป็นการกระทำผิดกรณีเดียวกันหรือไม่ 31/5/54

35 ตัวอย่างเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ
XXX 31/5/54

36 ตัวอย่างหนังสืออนุญาตให้มอบหมายให้ดำเนินการบรรจุก๊าซแทน
31/5/54

37 ระบบการค้าก๊าซหุงต้มตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547
37 31/5/54

38 ผู้ประกอบการค้า LPG ที่เกี่ยวข้อง
1) ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 2) โรงบรรจุก๊าซ 3) ร้านจำหน่ายก๊าซหุงต้ม 31/5/54

39 หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจค้าก๊าซหุงต้ม(ต่อ)
ระบบการค้าก๊าซหุงต้มตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจค้าก๊าซหุงต้ม(ต่อ) ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 ที่ประกอบการค้าก๊าซหุงต้ม เจ้าของถังก๊าซหุงต้ม และน้ำก๊าซ ว่าจ้างบรรจุ (ขออนุญาตต่อ ธพ.) บรรจุก๊าซเอง โรงบรรจุก๊าซของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (บรรจุก๊าซเอง) โรงบรรจุก๊าซตัวแทนค้าต่างของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (ผู้รับจ้าง) ขอรับเครื่องหมายประจำตัว ผู้บรรจุก๊าซจากอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน ปิดผนึกลิ้น(Valve) ถังก๊าซหุงต้มด้วยอุปกรณ์ปิดผนึกลิ้น(Seal) ที่แสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ ร้านจำหน่ายก๊าซหุงต้มและ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงที่ จำหน่ายก๊าซหุงต้ม ต้องซื้อและขายที่บรรจุถังก๊าซ หุงต้มที่ได้ปิดผนึกลิ้นด้วยอุปกรณ์ ปิดผนึกที่แสดงเครื่องหมาย ประจำตัวของผู้บรรจุก๊าซเท่านั้น ผู้บริโภค 31/5/54

40 ระบบการค้าตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547
ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 การมอบหมายบรรจุก๊าซแทนต้องขออนุญาตต่อกรมธุรกิจพลังงาน ต้องบรรจุก๊าซลงถังก๊าซหุงต้มที่แสดงเครื่องหมายของตน โรงบรรจุก๊าซ ต้องขอรับเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซต่อกรมธุรกิจพลังงาน การบรรจุก๊าซหุงต้มต้องปิดซีลที่แสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ ไม่รับก๊าซจากผู้ใดนอกจากผู้ค้ามาตรา 7 ที่ได้รับอนุญาตให้มอบหมาย การบรรจุก๊าซแทน ไม่นำน้ำก๊าซที่ได้รับจากการเป็นผู้บรรจุก๊าซแทนไปจำหน่ายให้ผู้ใด โดยไม่บรรจุลงถังก๊าซหุงต้ม 31/5/54

41 ระบบการค้า LPG ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547
สถานีบริการ ไม่ซื้อน้ำก๊าซจากผู้ใดนอกจากผู้ค้าตามมาตรา 7 ไม่บรรจุก๊าซลงในถังก๊าซหุงต้ม ร้านจำหน่ายก๊าซ ไม่จำหน่ายก๊าซหุงต้มซึ่งไม่ปิดซีลที่แสดงเครื่องหมาย ประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ 31/5/54

42 ผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจค้าก๊าซหุงต้มในปัจจุบัน
ผู้ค้ามาตรา 7 ที่จำหน่ายก๊าซหุงต้ม มี 7 ราย ได้แก่ ยูนิคแก๊ส ปตท. สยามแก๊ส เวิลด์แก๊ส ปิคนิค แสงทองฯ เอ็น เอส แก๊ส 42 31/5/54

43 รายละเอียดจำนวนโรงบรรจุก๊าซของผู้ค้าตามมาตรา 7
หน่วย : ราย ผู้ค้า ม.7 บรรจุเอง ตัวแทน รวม ปตท. 7 162 169 ยูนิคแก๊ส 14 62 76 เวิลด์แก๊ส 19 56 75 สยามแก๊ส 8 71 79 ปิคนิค - 40 แสงทอง 1 2 3 49 393 442 สำนักบริการธุรกิจและการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง วันที่ 30 พฤษภาคม 2554 31/5/54

44 ผู้ประกอบการค้า LPG ผู้ค้า ก๊าซหุงต้ม สถานีบริการ อุตสาหกรรม ปตท. 
เอสโซ่ - บางจาก สยามแก๊ส ยูนิคแก๊ส เวิลด์แก๊ส ปิคนิค แสงทอง พี เอ พี แก๊ส แอนด์ ออยล์ พลังงานบริสุทธิ์ อูโน่แก๊ส เอ็น เอส แก๊ส แคปปิตอลจี ยูไนเต็ดแก๊ส 31/5/54

45 ลักษณะความผิด และ บทกำหนดโทษ
31/5/54

46 ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7
ลักษณะความผิด บทลงโทษ ไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ค้าน้ำมันมาตรา 7 ผู้ค้าน้ำมันที่มีปริมาณการค้าน้ำมันเชื้อเพลิงตั้งแต่ 100,000 เมตริกตัน/ปี (120ล้านลิตร/ปี) หรือ ผู้มีปริมาณการค้า LPG เพียงชนิดเดียว ตั้งแต่ 50,000 เมตริกตัน/ปี จำคุกไม่เกิน 1 ปี และ/หรือ ปรับตั้งแต่ 300,000 – 3,000,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 35) ไม่สำรองน้ำมันเชื้อเพลิง/ LPG ตามปริมาณที่กฎหมายกำหนด จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่ต่ำกว่า 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท ต่อวัน จนกว่าจะปฏิบัติถูกต้องหรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 46) ไม่รายงานข้อมูล/ รายงานข้อมูลเท็จ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 42) 31/5/54

47 ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 11 (สถานีบริการ LPG)
ลักษณะความผิด บทลงโทษ ไม่มีใบทะเบียนผู้ค้าน้ำมันมาตรา 11 ผู้ค้าน้ำมันที่ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมันหรือ LPG หรือก๊าซธรรมชาติ(NGV) และปั๊มหยอดเหรียญ โดยมีมาตรวัดชั่งตวงวัดติดตั้งไว้เป็นประจำ พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 จำคุกไม่เกิน 6 ปี และ/หรือ ปรับตั้งแต่ 10,000 – 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 38) บรรจุก๊าซหุงต้มที่สถานีบริการLPG ซื้อ LPG จากผู้อื่นที่ไม่ใช่ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 พ.ร.ก.แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2516 จำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 8) 31/5/54

48 ผู้ขนส่งตามมาตรา 12 ไม่มีใบรับแจ้งเป็นผู้ขนส่งน้ำมันมาตรา 12
ลักษณะความผิด บทลงโทษ ไม่มีใบรับแจ้งเป็นผู้ขนส่งน้ำมันมาตรา 12 ผู้รับจ้างขนส่งน้ำมันหรือLPG โดยใช้ยานพาหนะสำหรับเป็นการขนส่งน้ำมันโดยเฉพาะ ที่มีปริมาณการขนส่งครั้งละตั้งแต่ 3,000 ลิตรขึ้นไป จำคุกไม่เกิน 6 เดือน และ/หรือ ปรับตั้งแต่ 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 41) 31/5/54

49 โรงบรรจุก๊าซ ลักษณะความผิด บทลงโทษ หมายเหตุ ฝ่าฝืนคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 4/2547 ไม่มีเครื่องหมายประจำตัว บรรจุก๊าซโดยไม่ปิดซีล จำหน่าย LPG ที่ไม่บรรจุถังก๊าซหุงต้มให้กับสถานีบริการ พ.ร.ก.แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2516 จำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 8) บรรจุก๊าซขาดน้ำหนัก พ.ร.บ.มาตราชั่งตวงวัด พ.ศ.2542 จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 ท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 84) 31/5/54

50 โรงบรรจุก๊าซ (ต่อ) ไม่มีใบอนุญาตบรรจุก๊าซปล.2 บรรจุก๊าซข้ามยี่ห้อ
ลักษณะความผิด บทลงโทษ ไม่มีใบอนุญาตบรรจุก๊าซปล.2 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 28 จำคุก 3 ปี ปรับ 10,000 บาท บรรจุก๊าซข้ามยี่ห้อ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท มีถังก๊าซยี่ห้ออื่นอยู่บนลานบรรจุ โดยไม่มีหนังสือยินยอม 31/5/54

51 ร้านจำหน่ายก๊าซ จำหน่ายก๊าซขาดน้ำหนัก จำหน่ายก๊าซโดยไม่ปิดซีล
ลักษณะความผิด บทลงโทษ จำหน่ายก๊าซขาดน้ำหนัก พ.ร.บ.มาตราชั่งตวงวัด พ.ศ.2542 จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 85) จำหน่ายก๊าซโดยไม่ปิดซีล พ.ร.ก.แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2516 จำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 8) 31/5/54

52 การขนส่ง LPG ลักษณะความผิด บทลงโทษ ผู้ค้าน้ำมันจ้างผู้ขนส่ง ที่มิใช่เป็นผู้ขนส่งน้ำมันมาตรา 12 ผู้ค้ามาตรา 7 จำคุกไม่เกิน 1 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 56) ผู้ค้ามาตรา 10,11 จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท 31/5/54

53 การขนส่ง LPG (ต่อ) ลักษณะความผิด บทลงโทษ ผู้ค้าน้ำมันไม่จัดทำใบกำกับการขนส่งน้ำมัน/LPG(ไม่มีใบกำกับการขนส่งไปกับรถ) ผู้ค้าน้ำมันมาตรา 7 จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 56) ผู้ค้าน้ำมันมาตรา 10,11 จำคุกไม่เกิน 1 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 56) ผู้ขับขี่ยานพาหนะขนส่งน้ำมันโดยไม่ได้รับใบอนุญาตขับขี่ขนส่งชนิดที่ 4 พ.ร.บ.การขนส่งทางบก พ.ศ.2522 จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 151) 31/5/54

54 การส่งออกLPG ลักษณะความผิด บทลงโทษ ส่งออก LPG โดยไม่ได้ขออนุญาต (กำหนดให้ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 เป็นผู้ส่งออกโดยต้องขออนุญาตก่อนส่งออก) พ.ร.บ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 47) พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2469 ปรับเป็นเงินสี่เท่าของมูลค่าสินค้า ซึ่งรวมค่าอากรขาเข้า หรือจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 27) 31/5/54

55 การดำเนินการตามกฎหมาย
การส่งดำเนินคดี กรณีพบการกระทำผิด โดยฝ่าฝืนคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 7/2547 ธพ.มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดในการดำเนินคดีกับผู้ค้าน้ำมัน ตามมาตรา 7 โรงบรรจุก๊าซ สถานีบริการ หรือผู้ใดซึ่งกระทำการฝ่าฝืน คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 4/2547 โดย (1) แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนในการดำเนินคดี (2) รายงานผลการดำเนินการตาม (1) ต่อ ธพ. เป็นประจำทุกเดือน 31/5/54

56 05/04/60 การกำกับดูแลการค้า LPG ตาม พ.ร.บ.การส่งออกไปนอกและการนำเข้า มาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ.2522 31/5/54

57 การนำเข้า LPG 05/04/60 ต้องปฏิบัติตามประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณาเห็นชอบให้นำ น้ำมันเชื้อเพลิงเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2552 1. ผู้นำเข้าต้องเป็นผู้คามาตรา 7 หรือ 2. ผู้ที่ ธพ. เห็นชอบ โดยมีหนังสือรับรองของ ธพ ไปแสดงต่อเจ้าพนักงานศุลกากร 31/5/54

58 การนำเข้า LPG ลักษณะความผิด บทลงโทษ การนำเข้า LPG โดยไม่ได้ขออนุญาต (กำหนดให้ผู้ค้าน้ำมันที่มิใช่ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 ต้องขออนุญาตก่อนส่งออก) พ.ร.บ.การส่งออกไปนอกและการนำเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2522 จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 22) 31/5/54

59 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การกำกับดูแลก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google