งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การจัดการความรู้ Knowledge Management เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา กรณีศึกษา : การปรับอัตราภาษีสุรา กับงานของสำนักมาตรฐานและพัฒนาการจัดเก็บภาษี 1

2 สุรา ยาสูบ น้ำมัน

3 พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 มาตรา 8 จัตวา
การเสียภาษีสุราตามมูลค่านั้น ให้ถือมูลค่าตาม (1) และ (2) โดยให้รวมภาษีสุราที่พึงต้องชำระด้วย ดังนี้       (1) ในกรณีสุราที่ทำในราชอาณาจักร ให้ถือตามราคาขาย ณ โรงงานสุรา       ในกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงงานสุรา หรือราคาขาย ณ โรงงานสุราดังกล่าวมีหลายราคา ให้ถือตามราคาที่อธิบดี ประกาศ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักรเพื่อ ถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษีโดยกำหนดจากราคาขาย ณ โรงงานสุราในตลาดปกติได้

4 พ.ร.บ.สุรา พ.ศ มาตรา 8 จัตวา “การเสียภาษีสุราตามมูลค่าให้ถือราคาขาย ณ โรงงานสุรา โดยรวมภาษีสุราที่พึงชำระ” ต้นทุน+กำไร ภาษีสุราตามพ.ร.บ.สุราฯ +ภาษีสุราตามพ.ร.บ.จัดสรรฯ พ.ร.บ.จัดสรรเงินภาษีสุรา พ.ศ มาตรา 4 “ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา เสียภาษีสุราเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ของภาษีสุรา” ดังนั้น ภาษีสุราตาม พ.ร.บ.จัดสรรฯ จึงเป็นภาษีสุราที่พึงชำระ ซึ่งจะต้องนำไปรวมกับราคาขาย ณ โรงงานสุราด้วย

5 โครงสร้างราคาขาย ณ โรงงานสุราโดยรวมภาษีสุราที่พึงชำระ
ตัวอย่าง อัตราภาษีตามมูลค่าสุราแช่ชนิดเบียร์ ร้อยละ 60 ราคาขาย ไม่รวมภาษี ภาษีสุรา (1) ตามพ.ร.บ.สุรา พ.ศ. 2493 ภาษีสุรา (2) ตาม พ.ร.บ.จัดสรร 34% 60% 6% = 100% กรณีผู้ผลิตทราบราคาขายไม่รวมภาษี = บาท/ขวด เทียบจากโครงสร้าง ร้อยละ 34 เป็นเงิน = บาท/ขวด ดังนั้น ภาษีสุรา (1) ร้อยละ 60 เป็นเงิน = x 60 = บาท/ขวด 34 และ ภาษีสุรา (2) ร้อยละ 6 เป็นเงิน = x 6 = บาท/ขวด 34 สรุป ราคาขาย ณ โรงงานสุรารวมภาษีที่พึงชำระ = = บาท/ขวด

6 โครงสร้างราคาขาย ณ โรงงานสุราโดยรวมภาษีสุราที่พึงชำระ
ภาษีสุรา = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี + ภาษีสุราที่พึงชำระ) X อัตราภาษี = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี + ภาษีสุรา+ภาษีมหาดไทย) X อัตราภาษี = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี + ภาษีสุรา+ (ภาษีสุรา X 10%)) X อัตราภาษี = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี) X อัตราภาษีสุรา 1- (1.1 X อัตราภาษีสุรา)

7 อัตราตามมูลค่าเดิม 55% อัตราตามมูลค่าใหม่ 60%
36.95 55% 39.5% 5.5% 100% ราคาขายรวมภาษี 42.93 100% 6% 2.57 ภาษีมหาดไทย 14.60 20.32 2.03 25.76 ภาษีสุรา 60% 14.60 34% ราคาขายไม่รวมภาษี

8 การประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักร
เพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษี 1. การคำนวณภาษีสุราตามมูลค่า จะใช้ราคาขาย ณ โรงงานสุราที่รวมภาษีสุราที่พึงชำระ (ภาษีสุราและภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย) เป็นฐานในการคำนวณภาษี ซึ่งเรียกว่าระบบภาษีรวมใน 2. เนื่องจากภาษีสุราเป็นระบบภาษีรวมใน เมื่อมีการปรับอัตราภาษีเมื่อใด ราคาขาย ณ โรงงานสุราที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษี จะต้องเปลี่ยนแปลงไปตามภาระภาษีที่มีการปรับเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ผู้ได้รับอนุญาตทำสุราจะต้องแจ้งเปลี่ยนแปลงราคาขาย ณ โรงงานสุรา ตามพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 3. หากผู้ได้รับอนุญาตทำสุราไม่แจ้งเปลี่ยนแปลงราคาหรือแจ้งราคาไม่ถูกต้องตามภาระภาษีสุราที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลต่อรายได้ภาษีสุราที่รัฐพึงจะได้รับ ดังนั้น เมื่อมีการปรับอัตราภาษีสุรา จึงต้องดำเนินการประกาศกำหนดมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักรเพื่อใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษีใหม่

9 การประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักร
เพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษี 4. ในการประกาศกำหนดมูลค่าของสุรา มีวิธีการคำนวณดังนี้ 4.1 ใช้ราคาขาย ณ โรงงานที่รวมภาษีสุราที่พึงชำระในอัตราเดิม ซึ่งใช้เป็นมูลค่าในการคำนวณภาษี ณ ปัจจุบันเป็นฐานในการคำนวณ 4.2 นำราคาในข้อ 4.1 มาหักภาษีสุราในอัตราเดิม และภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย (10% ของภาษีสุรา) เพื่อให้ได้ราคาขาย ณ โรงงานสุราที่ไม่รวมภาษี 4.3 นำราคาในข้อ 4.2 มาคำนวณภาษีสุราตามอัตราที่ปรับใหม่และคำนวณภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย (10% ของภาษีสุรา) 4.4 นำราคาในข้อ 4.2 บวกด้วยภาษีที่คำนวณได้ในข้อ 4.3 (ภาษีสุราตามอัตราที่ปรับใหม่และภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย) จะได้ราคาขาย ณ โรงงานสุราเพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษีใหม่ตามที่จะประกาศต่อไป

10 เบียร์ 55% 60% Premium 20.87 26.47 5.60 Standard 20.32 25.76 5.44
ภาษีสุราเดิม ภาษีสุราใหม่ เพิ่ม 55% 60% บาท/ขวด Premium 20.87 26.47 5.60 (27%) Standard 20.32 25.76 5.44 (27%) Economy 14.96 18.97 4.01 (27%) ขวดใหญ่ ลิตร

11 สุราขาว 19.25 21.00 1.75 (9%) 28 ดีกรี 20.62 22.50 1.88 (9%) 30 ดีกรี
ภาษีสุราเดิม ภาษีสุราใหม่ เพิ่ม สุราขาว 110 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 120 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท/ขวด 19.25 21.00 1.75 (9%) 28 ดีกรี 20.62 22.50 1.88 (9%) 30 ดีกรี 35 ดีกรี 24.06 26.25 2.19 (9%) 40 ดีกรี 27.50 30.00 2.50 (9%) ขวดใหญ่ ลิตร

12 สุราผสม 49.00 52.50 3.50 28 ดีกรี 52.50 56.25 3.75 30 ดีกรี 35 ดีกรี
ภาระภาษีเดิม ภาระภาษีใหม่ เพิ่ม สุราผสม 280 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 300 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท/ขวด 49.00 52.50 3.50 28 ดีกรี (6.29%) 52.50 56.25 3.75 (6.29%) 30 ดีกรี 35 ดีกรี 61.25 65.62 4.37 (6.29%) ขวดใหญ่ ลิตร

13 บรั่นดี 38 ดีกรี 113.67 129.72 16.05 ภาระภาษีเดิม ภาระภาษีใหม่ เพิ่ม
45% 48% บาท/ขวด 38 ดีกรี 113.67 129.72 16.05 (14.12%) ขวดใหญ่ ลิตร

14 ถาม& ตอบ


ดาวน์โหลด ppt เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google