งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

2 มิถุนายน 2552 อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "2 มิถุนายน 2552 อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 2 มิถุนายน 2552 http://fscieng.csc.ku.ac.th/~fseqa/ อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

2 2 9 องค์ประกอบประกันคุณภาพของคณะฯ ผลสัมฤทธิ์ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนงานของสถาบัน การดำเนินการตามภาระกิจ 4 ด้าน 1. การจัดการเรียนการสอน 2. การวิจัย 3. การบริการวิชาการ 4. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การดำเนินการตามภาระกิจ 4 ด้าน 1. การจัดการเรียนการสอน 2. การวิจัย 3. การบริการวิชาการ 4. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กระบวนการบริหาร 1. การบริหารจัดการ 2. การเงินและงบประมาณ 3. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ กระบวนการบริหาร 1. การบริหารจัดการ 2. การเงินและงบประมาณ 3. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ พัฒนานิสิต

3 3 การประเมินผล Evaluation คือ ……………………………………………….. …………………………………………………...

4 4 ความสอดคล้องระหว่าง ผลกับวัตถุประสงค์ การประเมินผล การตัดสิน การให้คุณค่า การตัดสิน การให้คุณค่า เกณฑ์ การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวัดผล

5 5 เปรียบเทียบ ผลการดำเนินงาน กับ วัตถุประสงค์ ที่กำหนด โดยการ สร้างเครื่องมือ รวบรวมข้อมูล แล้วนำไปเทียบ กับ เกณฑ์ การประเมินผล

6 6 Evaluation is not only to prove, but to improve.

7 7 กพร. สมศ. สกอ. มก. ระบบกลไก ผลลัพธ์ Output/Outcome

8 8 ดัชนีที่ 1.2 ร้อยละของการบรรลุเป้าหมาย ตามดัชนีของการปฏิบัติ งานที่กำหนด เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 บรรลุเป้าหมายร้อยละ 60 – 74 คะแนน 2 บรรลุเป้าหมายร้อยละ 75 – 89 คะแนน 3 บรรลุเป้าหมายร้อยละ 90 – 100 การประเมิน เกี่ยวข้องกับการ ทำโครงการ อย่างไร

9 9 ดัชนีที่ 1.3 แผนงาน / โครงการที่มีการ ประเมินผลการดำเนินงาน เกณฑ์มาตรฐาน ( ข้อ ) โครงการที่มีการดำเนินงานตามแผน โครงการที่เป็นไปตามกำหนดเวลา โครงการที่ตรงตามวัตถุประสงค์ โครงการที่บรรลุเป้าหมาย โครงการที่มีการติดตามและประเมินผล การประเมิน เกี่ยวข้องกับการ ทำโครงการ อย่างไร

10 10 คือ ข้อมูลที่ระบุ / บ่งบอก ปริมาณ / ลักษณะของโครงการ หรือแผนงานในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และมีความชัดเจนเพียงพอ ที่จะใช้เปรียบเทียบ หรือสามารถบ่งบอกการเปลี่ยนแปลงได้ ตัวชี้วัด (indicator)

11 11 การกำหนดตัวชี้วัด สามารถวัดผลได้ มีความคงเส้นคงวา มีความชัดเจนเฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ เปรียบเทียบกับองค์กรอื่นที่มีลักษณะงานเหมือนกันได้ สามารถหาข้อมูลได้

12 12 ค่าของตัวชี้วัด แสดงเป็นตัวเลขในลักษณะของ : ร้อยละ (Percentage) สัดส่วน (Proportion) อัตรา (Rate) อัตราส่วน (Ratio) จำนวน (Number) ค่าเฉลี่ย (Average or Mean) ค่าของตัวชี้วัด

13 13 คือ ระดับของข้อมูลเชิงปริมาณ / คุณภาพ หรือมาตรฐาน ที่ควรจะเป็น เพื่อใช้ในการตัดสินความสำเร็จของการดำเนินงาน เกณฑ์ (criteria)

14 14 1. เกณฑ์ สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ระดับที่เป็นไปตามข้อกำหนดที่ ต้องได้ output ครบถ้วน ( เกี่ยวกับจำนวนเต็ม 100) 2. เกณฑ์ มาตรฐาน (Standard Criteria) ระดับที่มีการกำหนดค่ากลางอัน เป็นที่ยอมรับใน วงการว่าอยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ 3. เกณฑ์ สัมพัทธ์ (Relative Criteria) ระดับที่ใช้ตัดสินความสำเร็จ โดยการเทียบกับเกณฑ์ มาตรฐาน หรือเกณฑ์ปกติวิสัย หรือค่าเฉลี่ยของผลการ ดำเนินงานที่ผ่านมา 4. เกณฑ์ พัฒนา (Growth Criteria) เกณฑ์ที่ระบุผลงานในลักษณะ ที่มีความก้าวหน้า หรือ พัฒนาขึ้นในช่วงเวลาที่กำหนด ประเภทของเกณฑ์

15 15 การทำโครงการ ตัวชี้วัด (Indicator) เกณฑ์ (Criteria) เป้าหมาย (Goal)

16 16 แบบกรอกขอข้อมูลสรุปโครงการในส่วนงาน ประกันคุณภาพการศึกษา

17 17 แบบกรอกขอข้อมูลสรุปโครงการในส่วนงาน ประกันคุณภาพการศึกษา

18 18

19 19 ตัวอย่างแบบกรอกขอข้อมูลสรุปโครงการใน ส่วนงานประกันคุณภาพการศึกษา

20 20 สวัสดี ขอขอบคุณคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนสำหรับข้อมูลประกอบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt 2 มิถุนายน 2552 อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google