งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา
แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา โทร ,

2 ลักษณะของโรคไม่ติดต่อ
ระยะการดำเนินโรคยาว ระยะเวลาการก่อตัวของโรคเกิดขึ้นทีละน้อย สาเหตุการเกิดโรคมาจากหลายปัจจัย และเป็นสาเหตุที่ซับซ้อน วิถีชีวิตและพฤติกรรมมีผลต่อการเกิดโรค อุบัติการณ์เกิดโรคต่ำ แต่ความชุกโรคสูง พบในวัยผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก

3 ธรรมชาติการดำเนินโรคเบาหวาน
มีภาวะ แทรกซ้อน /ป่วย ระยะ 3 แสดงอาการ ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลือดใหญ่ ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลือดฝอย ระยะ 2 น้ำตาลเพิ่ม ลดการดูดซึม Pre diabetes เบาหวานแฝง การหลั่งอินซูลินผิดปกติ ไขมันสะสม อ้วน TG HDL ระยะ 1 อัตราส่วน เอว/สะโพก ความดัน โลหิตสูง พันธุกรรม รากของปัญหา พันธุกรรม , ค่านิยม/ความเชื่อ , สังคม วัฒนธรรม , ครอบครัว/ชุมชน , สิ่งแวดล้อม

4 IR and -cell dysfunction are fundamental to type 2 diabetes
Glucose (mg/dl) 50 – 100 – 150 – 200 – 250 – 300 – 350 – 0 – -10 -5 5 10 15 20 25 30 Years of diabetes Relative function (%) Fasting glucose Obesity IFG Diabetes Uncontrolled hyperglycaemia IR Postprandial glucose Insulin secretion Clinical diagnosis There is a temporal relationship between IR, insulin secretion and the development of diabetes. In the early stages, as IR rises, there is a compensatory increase in insulin secretion and the individual remains normoglycaemic. In the long term, as the -cells begin to fail, insulin secretion falls, hyperglycaemia becomes apparent and frank type 2 diabetes develops. Burger HG et al Diabetes Mellitus, Carbohydrate Metabolism, and Lipid Disorders. In Endocrinology. 4th ed. Edited by LJ DeGroot and JL Jameson. Philadelphia: W.B. Saunders Co., Originally published in Type 2 Diabetes BASICS. International Diabetes Center (IDC), Minneapolis, Minnesota, 2000. Adapted from Burger HG et al Diabetes Mellitus, Carbohydrate Metabolism, and Lipid Disorders. In Endocrinology. 4th ed. Edited by LJ DeGroot and JL Jameson. Philadelphia: W.B. Saunders Co., 2001. Originally published in Type 2 Diabetes BASICS. International Diabetes Center, Minneapolis, 2000.

5 ระดับของขั้นการป้องกันโรค
ระดับขั้นของการป้องกันโรค 3 ขั้น มีอาการ/ ผู้ป่วย พิการ หรือตาย ระยะของโรค ระยะมีความไวรับ ก่อนมีอาการ การป้องกัน ขั้นที่ 1 (Primary) ขั้นที่ 2 (Secondary) ระดับของขั้นการป้องกันโรค ขั้นที่ 3 (Tertiary) วินิจฉัยโรคระยะ เริ่มแรก รักษาทันที การดำเนินการ รักษา ฟื้นฟู ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเฉพาะ ผลการป้องกัน ลดความชุก ลดความรุนแรง ลดผลเสียของโรค ลดอุบัติการณ์ ของโรค ลดภาวะแทรกซ้อน และความพิการ

6 การจัดการข้อมูล ในกลุ่มเสี่ยง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) แหล่งข้อมูลจาก
*ข้อมูลจากการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง 15 + ปี (Key in web สปสช.) *การคัดกรองเบาหวานด้วยวาจา ผลการตรวจน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต * การคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด :CVD Risk Factor (อัมพฤกษ์อัมพาตเดิม) * การคัดกรองเบาหวาน ความดัน โครงการน้ำพระทัยฯ (Key web กสธ.)

7 การจัดการข้อมูล ในกลุ่มเสี่ยง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ข้อมูลทั่วไป
วิเคราะห์ข้อมูล/ ประมวลผล ข้อมูลทั่วไป เสี่ยงต่ออะไรบ้าง ระดับความเสี่ยง (ร้อยละ) พฤติกรรมเสี่ยง / วิถีชีวิต / สิ่งแวดล้อม บริบทชุมชน การกระจายตามบุคคล สถานที่ เวลา

8 การจัดการข้อมูล กลุ่มผู้ป่วย แหล่งข้อมูล
*จากทะเบียนผู้ป่วยที่มารับการรักษา (ลงสมุดไว้ /ดึงจากฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของ รพ. :ICD-10) * ข้อมูลสำรวจพฤติกรรมจากการปฏิบัติตน /จากการเยี่ยมบ้าน

9 การจัดการข้อมูล กลุ่มผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูล/ ประมวลผล จำนวนป่วย / ตาย
กลุ่มผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูล/ ประมวลผล จำนวนป่วย / ตาย อัตราป่วย อัตราตาย อัตราผู้ป่วยใน อัตราผู้ป่วยรายใหม่ อัตราภาวะแทรกซ้อน อัตราเพิ่ม/ลด เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงเวลาที่ผ่านมา

10 การนำเสนอเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
การจัดการข้อมูล (นพ.ธนะพงศ์ จินวงษ์) Outcome -DM/HT/CVD - ตาย จังหวัด - CUP - อปท ฯลฯ นโยบาย / Node เขต / ส่วนกลาง P D A C ผล แผนแม่บท KM Best practice Risk Beh. คัดกรอง การนำเสนอเพื่อการปรับปรุงแก้ไข Data สื่อสาร/ เตือนภัย จัดการ ระบบข้อมูล รวบรวม-วิเคราะห์ข้อมูล - เฝ้าระวังสถานการณ์โรค /ปัจจัยเสี่ยง information

11 โครงการน้ำพระทัยฯ วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างหรือมีระบบข้อมูลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตใน ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับตำบล 2. เพื่อจำแนกพื้นที่จากการคัดกรอง ฯ ตามความเสี่ยงและความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิต ในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับตำบล แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

12 โครงการน้ำพระทัยฯ วัตถุประสงค์ 3. กระทรวงสาธารณสุขมีฐานข้อมูลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในระดับประเทศ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

13 โครงการน้ำพระทัยฯ ประโยชน์
จังหวัด อำเภอ และตำบล สามารถนำข้อมูลไปใช้แบ่งกลุ่มประชาชนตามธรรมชาติของโรคนำไปสู่การบริการเชิงรุกที่เหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไป (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน) จังหวัดสามารถบริหารจัดการทรัพยากรและดำเนินงานที่เหมาะสมกับพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามปัจจัยเสี่ยงและความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิต 3. กระทรวงสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการเฝ้าระวังควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประเทศต่อไป

14


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google