ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTinnapat Khumpai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
ปีงบประมาณ 2553 (ตุลาคม กันยายน 2553)
2
รายงาน ความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา
ความครบถ้วน : ตรวจสอบไม่มีข้อมูลว่าง/ ประหลาดๆ เช่น ช่องอ้างอิงสูตร ความถูกต้อง : ตรวจสอบความสอดคล้อง ความทันเวลา : ส่งภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน
3
กราฟแสดงความทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้องของรายงาน ADMIN
4
อัตราการสำรองยา (เกณฑ์ ไม่เกิน 3 เดือน)
อัตราการสำรองยาเฉลี่ย ทั้งจังหวัดเฉลี่ย เป็น 1.77 เดือน (มูลค่าคงคลังเดือนสุดท้ายเทียบกับอัตราการใช้เฉลี่ย 12 เดือน) รพ.ที่มีการสำรองยา น้อยที่สุด คือ ยะรัง เป็น 0.86 รองลงมา คือรพ.ปัตตานี เป็น 1.09 และ โคกโพธิ์ เป็น โดยไม่มีรพ.ใดที่มีการสำรองยามากกว่า 3 เดือน
5
กราฟแสดงอัตราการสำรองยาของโรงพยาบาลในจังหวัดปัตตานี 2553
หมายเหตุ : เฉพาะรพ.มายอ เป็นข้อมูล 10 เดือน (ตค.52-กค.53)
6
สัดส่วน ระหว่างยา ED : ED
รพ.ปัตตานี (เกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 4) ยา ED รายการ NED 167 รายการ คิดเป็น 3.31 รพช. (เกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 9) ไม่มี รพช. ใดที่มี อัตรารายการยา ED/NED น้อยกว่าที่ กำหนด
7
การจัดซื้อยาร่วม ยาร่วม เกณฑ์ ร้อยละ 20 ทั้งจังหวัดเฉลี่ย เป็น (37.40 ล้านบาท จาก ล้านบาท) โรงพยาบาลที่จัดซื้อยาร่วมมากที่สุด คือ รพร. สายบุรี ร้อยละ (3.77 ล้านบาทจาก 8.54 ล้านบาท) น้อยที่สุด คือ รพ.ปัตตานี ร้อยละ (13.93 ล้านบาทจาก ล้านบาท)
8
การจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม
เกณฑ์ ร้อยละ ( รพช 35 / รพท 8 ) โรงพยาบาลในจังหวัดปัตตานี มีการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม คิดเป็นร้อยละ ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด (30.04 ล้านบาท จาก ล้านบาท) โดยโรงพยาบาลปัตตานี จัดซื้อน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 9.03 (8.18 ล้านบาท จาก ล้านบาท)
9
การจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม (ต่อ)
เกณฑ์ ร้อยละ ( รพช 35 / รพท 8 ) โรงพยาบาลชุมชน มีการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม คิดเป็นร้อยละ ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมดของโรงพยาบาลชุมชน (21.86 ล้านบาทจาก ล้านบาท) โรงพยาบาลที่มีการจัดซื้อเกินร้อยละ 35 มีจำนวน 5 แห่ง คือ รพ.ยะหริ่ง (ร้อยละ 39.16) แม่ลาน (ร้อยละ 38.54) กะพ้อ (ร้อยละ 37.75) มายอ (ร้อยละ 37.03) และทุ่งยางแดง (ร้อยละ 35.24)
10
จบแล้วค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.