งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดมุกดาหาร สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ จากการจัดอาชีวศึกษา
 อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ  ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น  Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2 จังหวัดมุกดาหาร สถานศึกษา .ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 246 แห่ง สศ.32 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วก.นวมินทราชินีมุกดาหาร วก.นิคมคำสร้อย .ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นที่ตั้งของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 28,944 บาท ต่อปี (อันดับ 12 ของ ภาค อันดับ 69 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจาก ภาคเกษตร มีมูลค่าการผลิต % รองลงมาการขายส่ง การขายปลีก % อาชีพหลักของจังหวัด เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ไม้ผล พืชผัก ถั่วลิสง ยางพารา ประชากร จำนวนประชากร 334,113 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ จำนวน 26,114 คน หรือ11.65% จำนวนผู้ว่างงาน 2,286 คน เป็นชาย 1,635 คน เป็นหญิง 651 คน อัตราการว่างงาน 0.6 % ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 108,627 คน หรือ 54.11% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) สานตะกร้าพลาสติก 2) ทำปุ๋ยหมักอัดเม็ดชีวภาพ 3) การทำไม้กวาดดอกหญ้า 4) การผลิตข้าวกล้อง 5) การผลิตผ้าฝ้ายพื้นเมือง 6) แปรรูปเห็ด 7) การทำลวดหนาม ) ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ) การทำเมี่ยงปลาร้า (เมี่ยงอีสาน) 10)การทำผ้าฝ้ายเย็บมือ (ที่มา อศจ.มุกดาหาร) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 77,710 คน หรือ 38.71% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 60,603 คน หรือ % แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 7,176 คน หรือ 3.57% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 151,340 คน หรือ % เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,665 คน หรือ 2.32% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 8 แห่ง มีการจ้างงาน 817 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3 จังหวัดสกลนคร สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.619 แห่ง และ สศ.53 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.สกลนคร วช.สกลนคร วก.สว่างแดนดิน 4. วก.พรรณานิคม ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศเหนือมีเขตติดต่อกับจังหวัดหนองคาย สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 30,151 บาท ต่อปี (อันดับ10 ของ ภาค อันดับ 68 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 24.22% รองลงมา ภาคเกษตร % พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด ข้าว อ้อยโรงงาน มันสำปะหลัง การปศุสัตว์ ประชากร จำนวนประชากร 1,104,106 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน 85,892 คน หรือ11.46% จำนวนผู้ว่างงาน19,720 คน เป็นชาย 12,460 คน เป็นหญิง 7,261 คน อัตราการว่างงาน 1.8 % ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 254,189 คน หรือ 51.20% ลำดับรองลงมาคือ ด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 87,280 คน หรือ 17.58% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ทอผ้าย้อมคราม ) การเพาะเห็ด 3) ปลูกพืชผัก 4) เลี้ยงโค 5) การเลี้ยงปลาในกระชัง 6) เครื่องปั้นดินเผา 7) เลี้ยงหมู ) ทำลวดหนาม 9) นวดแผนไทย ) ผลิตถ่าน (ที่มา อศจ.สกลนคร) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 208,968 คน หรือ 42.09% ลำดับรอง ลงมา ช่วยธุรกิจครัวเรือน143,558 คน หรือ % และเป็นลูกจ้างเอกชน 86,188 คน หรือ 17.36% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,437 คน หรือ1.10% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 401,270 คน หรือ 80.83% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,190 คน หรือ 2.25% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 1,750 แห่ง มีการจ้างงาน 2,185 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4 จังหวัดนครพนม สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 455 แห่ง สศ. 51 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.บ้านแพง วช.นครพนม วก.นาหว้า ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับประเทศฯ ลาว โดยมี แม่น้ำโขงเป็นแนวกั้นพรมแดน สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 37,283 บาท ต่อปี (อันดับ 5 ของภาค อันดับ 58 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจาก ภาคเกษตร มีมูลค่าการผลิต 34.07% รองลงมาการขายส่ง การขายปลีก 17.38% อาชีพหลักของจังหวัด เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว ปลูกยาสูบ ประชากร จำนวนประชากร 693,594 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน 52,319 คน หรือ11.24% จำนวนผู้ว่างงาน 2,346 คน เป็นชาย 951 คน เป็นหญิง 1,395 คน อัตราการว่างงาน 0.4 % ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน183,495 คน หรือ 60.73% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ทำนา ) ทำสวนยางพารา ) ทำไร่อ้อย ) ทำไร่มะเขือเทศ 5) ทอผ้าไหมมัดหมี่ 6) ทอผ้าพื้นเมือง 7) ทอผ้าลายมุก 8) ทำส้มปลาโด 9) เฟอร์นิเจอร์ไม้ขอนลอย 10) ศิลปประดิษฐ์และหัตถกรรมพื้นบ้าน (ที่มา อศจ.นครพนม) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 153,765 คน หรือ50.89% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 90,998 คน หรือ 30.12% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 3,002 คน หรือ 0.99% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น -ต่ำกว่าประถมศึกษา 252,065 คน หรือ 83.42% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,044 คน หรือ 1.34% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 16 แห่ง มีการจ้างงาน 965 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

5 จังหวัดกาฬสินธุ์ สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 575 แห่ง และ สศ.69 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.กาฬสินธุ์ วท.เขาวง วช.กาฬสินธุ์ 4. วก.ห้วยผึ้ง วก.หนองกุงศรี 6. วก.คำม่วง ที่ตั้งที่เป็นโอกาส มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจของภาคและประเทศ ไทย คือ ทิศเหนือ จังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันตก จังหวัดขอนแก่น สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 30,947 บาท ต่อปี (อันดับ 7 ของภาค อันดับ 65 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต % รองลงมา ภาคเกษตร % สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ข้าวหอมมะลิ ประชากร จำนวนประชากร 973,556 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน76,844 คน หรือ11.44% จำนวนผู้ว่างงาน 5,839 คน เป็นชาย 4,301 คน เป็นหญิง 1,538 คน อัตราการว่างงาน 0.6 % ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 321,576 คน หรือ % ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1)ทอผ้าและแปรรูปผ้าไหมแพรวา ) ทอผ้าพื้นเมืองและแปรรูปเสื้อกก 3) แปรรูปอาหาร หมูทุบ หมูเค็ม ) ทำขนม 5) ดอกไม้ประดิษฐ์ ดอกไม้จัน 6) แปรรูปสมุนไพร 7) ไม้หนีบไก่ยาง ไม้หนีบลูกชิ้น 8) ผลิตภัณฑ์จากของเหลือใช้ 9) จักสานกระติ๊บข้าว (ที่มา อศจ.กาฬสินธุ์) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 225,806 คน หรือ 43.02% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 158,134 คน หรือ 30.13% และเป็นลูกจ้างเอกชน 72,150 คน หรือ % แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 323 คน หรือ 0.06% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา412,671 คน หรือ 78.62% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 9,022 คน หรือ 1.72% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 130 แห่ง มีการจ้างงาน 2,329 คน รองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 30 แห่ง การจ้างงาน 1,850 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ


ดาวน์โหลด ppt  อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google