งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมขนส่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมขนส่ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด จากการจัดอาชีวศึกษา
 อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมขนส่ง  อุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ  ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น  Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2 จังหวัดชลบุรี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.293 แห่ง และสศ. 35 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด อุดมศึกษา แห่ง สาธิต 1 แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.ชลบุรี วท. สัตหีบ วอศ.ชลบุรี 4. วษท.ชลบุรี วช.ชลบุรี วก.พนัสนิคม 7. วก.บางละมุง 8. วก.พานทอง ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นที่ตั้งของท่าเรือแหลมฉบัง เป็นท่าเรือ น้ำลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 5แห่ง 1. นิคมฯเหมราชชลบุรี 2. นิคมฯแหลมฉบัง 3. นิคมฯอมตะนคร นิคมปิ่นทอง 5. นิคมปิ่นทอง (แหลมฉบัง) สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 304,248 บาท ต่อปี(อันดับ 2 ของภาค อันดับ 5 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุดการผลิตอุตสาห- กรรม 51.46% สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด อาหารทะเลแห้ง ข้าวหลาม ประชากร จำนวนประชากร 1,172,432 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวนสูงที่สุด จำนวน 81,740 คน หรือ 10.38% จำนวนผู้ว่างงาน 5,528 คน เป็นชาย 3,465 คน เป็นหญิง 2,063 คน อัตราการว่างงาน 0.5% ประชาชนประกอบอาชีพด้านพนักงานบริการพนักงานร้านค้า และตลาดสูงที่สุด 153,747 คน หรือ 23.44% ลำดับรองลงมาผู้ปฎิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านประกอบ 151,585 คน หรือ 23.11% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2) ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 3) ผลิตภัณฑ์พลาสติก 4) ระบบการขนส่งสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรม (โลจิสติกส์) 5) ข้าวหลามหนองมน ) ทำครกหินอ่างศิลา ) ผลิตภัณฑ์ OTOP 8) อาชีพเลี้ยงปลา ) อาชีพเลี้ยงกุ้ง ) ทำอิฐแดง (ที่มา อศจ.ชลบุรี) ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 367,104 คน หรือ 55.96% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว143,972 คน หรือ 21.95% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 9,593 คน หรือ 1.46% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา389,718 คน หรือ 59.41% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 33,983 คน หรือ 5.18% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ 53 แห่ง มีการจ้างงาน 1,973 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3 จังหวัดระยอง สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.212 แห่ง และสศ. 21 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด อุดมศึกษา แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.ระยอง วท.บ้านค่าย วท.มาบตาพุด 4. วช.ระยอง วก.แกลง ที่ตั้งที่เป็นโอกาส มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจของภาคและประเทศไทย คือ ภาคตะวันออก จังหวัดจันทบุรี ทิศเหนือกับตะวันออก จังหวัดชลบุรี ทิศใต้ติดกับทะเลอ่าวไทย เป็นที่ตั้งของท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่ง 1. นิคมฯมาบตาพุด 2. นิคมฯเหมราช (ตะวันออก) 3. นิคมฯผาแดง นิคมฯอิสเทิร์นซีบอร์ด 5. นิคมฯอมตะซิตี้ นิคมฯเอเชีย 7. นิคมฯเหมราช อิสเทิร์นซีบอร์ด สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 831,411 บาท ต่อปี (อันดับ 1 ของภาค อันดับ 1 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการผลิตอุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 47.07% ลำดับรองมาการทำเหมืองแร่ และเหมืองหิน 35.17% สินค้ามีชื่อเสียงของจังหวัด ผลไม้ ได้แก่ ทุเรียน สับปะรด มะม่วง มังคุด เงาะ ประชากร จำนวนประชากร 559,135 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 37,924 คน หรือ 10.25% จำนวนผู้ว่างงาน 2,002 คน เป็นชาย 962 คน เป็นหญิง 1,040 คน อัตราการว่างงาน 0.63% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 54,326 คน หรือ 17.36% ลำดับรองลงมาคือ พนักงานบริการพนักงานร้านค้า และตลาด 54,158 คน หรือ 17.30% และผู้ปฏิบัติงานโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านประกอบ 47,945 คน หรือ % ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ธุรกิจโฮมสเตร์ ) ทุเรียนทอดกรอบ ) ผลิตภัณฑ์จากกะปิผง 4) น้ำพริกชนิดต่าง ๆ ) ปุ๋ยหมักชีวภาพ ชนิดผง 6) ทุเรียนกวน มงคุดกวน 7) ดอกไม้ประดิษฐ์จากใบยางพารา ) ดอกไม้ประดิษฐ์จากลูกประดู่ 9) ผลิตภัณฑ์จากกระดาษใยกล้วย ) ผลิตภัณฑ์จากผ้าบาติก (ที่มา อศจ.ระยอง) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 179,130 คน หรือ 56.53% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 69,883 คน หรือ 22.06% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 6,475 คน หรือ 2.04% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 212,583 คน หรือ67.09% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,939 คน หรือ 3.77% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ มีสถานประกอบการ 272 แห่ง มีการจ้างงาน 18,554 คน ลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมขนส่ง มีสถานประกอบการ 117 แห่ง มีการจ้างงาน 17,311 คน และอุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 135 แห่ง มีการจ้างงาน 16,253 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

4 จังหวัดจันทบุรี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.209 แห่ง และ สศ. 25 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด อุดมศึกษา แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.จันทบุรี วช.จันทบุรี วก.นายายอาม 4. วก.สอยดาว ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออกมีเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย ทิศตะวันตกมีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจ ของประเทศคือ จังหวัดระยองและชลบุรี สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 55,877 บาท ต่อปี (อันดับ 7 ของภาค อันดับ 42 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากภาคเกษตร มีมูลค่าการผลิต % สาขาการขายส่ง การขายปลีก % สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด อัญมณีพลอย เสื่อจันทบูร พริกไทย ผลไม้ เช่น มะม่วง ทุเรียน มังคุด ลองกอง ประชากร จำนวนประชากร 498,159 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 36,450 คน หรือ 10.77% จำนวนผู้ว่างงาน 3,014 คน เป็นชาย 2,568 คน เป็นหญิง 447 คน อัตราการว่างงาน 0.92% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 141,233 คน หรือ 43.19% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) การนวดแผนไทย ) การจัดทำผลิตภัณฑ์จากเส้นใยปอ 3) การจัดทำน้ำพริกชนิดต่าง ๆ ) การจัดทำอาชีพเพาะเห็ด 5) การจัดทำผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและสปาร์ ) การเสริมสวย 7) การจัดทำอาหารขนม ) การจัดการอบรมและส่งเสริมอาชีพการกรีดยาง 9) การทำไอศกรีมกะทิ (ที่มา อศจ.จันทบุรี) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 121,225 คน หรือ 37.07% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 94,780 คน หรือ 28.99% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 77,900 คน หรือ 23.82% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 10,809 คน หรือ 3.31% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 246,879 คน หรือ 75.5% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 9,864 คน หรือ 3.02% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 74 แห่ง มีการจ้างงาน 3,303 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

5 จังหวัดตราด สถานศึกษา ข้อมูลพื้นฐาน ที่ตั้งที่เป็นโอกาส สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 118 แห่ง และสศ. 17 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด อุดมศึกษา แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.ตราด วช.ตราด วก.บ่อไร่ ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออกติดกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย ทิศใต้ติดกับทะเลอ่าวไทย สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 73,029 บาท ต่อปี (อันดับ 5 ของภาค อันดับ 25 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร สวนผลไม้ สวนยางและประมง มีมูลค่าการผลิต 43.14% รองลงมาการขายส่ง การขายปลีก 12.65% อาชีพที่สำคัญของจังหวัด เกษตรกรรม ส่วนใหญ่ ปลูก ข้าว ยางพารา สับปะรด สวนผลไม้ เงาะ ทุเรียน มังคุด และการประมง ประชากร จำนวนประชากร 219,135 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 15,599 คน หรือ 11.22% จำนวนผู้ว่างงาน 937 คน เป็นชาย 649 คน เป็นหญิง 288 คน อัตราการว่างงาน 0.66% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 63,744 คน หรือ 44.90% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ทำเรือไฟเบอร์กกลาส 2) ทำเหล็กดัดและมุ้งลวดอลูมิเนียม 3) อาชีพการทำขนมไทย 4) การจัดดอกไม้ ) การกรีดยางพารา ) ช่างซ่อมจักรยานยนต์ 7) การจักรสาน ผลิตภัณฑ์จากต้นคุ้มและไม้ไผ่ (ที่มา อศจ. ตราด) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 55,000 คน หรือ 38.74% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 41,416 คน หรือ 29.17% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 28,144 คน หรือ 19.82% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 9,276 คน หรือ 6.5% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 106,830 คน หรือ 75.25% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,741 คน หรือ 2.6% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 60 แห่ง มีการจ้างงาน 2,180 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

6 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก


ดาวน์โหลด ppt  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมขนส่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google