ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPiam Limthongkul ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
จังหวัดศรีสะเกษ
2
ประเด็นการนำเสนอ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
1. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ 2
3
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
4
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนผู้ป่วย 1,163 ราย อัตราป่วย ต่อแสนประชากร อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 38 ของประเทศ และลำดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เสียชีวิต 1 ราย (ร้อยละ 0.09) แหล่งข้อมูล ศูนย์ระบาดวิทยา สสจ.ศรีสะเกษ(19 ตค. 55) 4 4
5
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จังหวัดศรีสะเกษ
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จังหวัดศรีสะเกษ
6
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 6 6
7
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 7 7
8
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 8 8
9
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 9 9
10
***ภส./ขห./กล./รษ./เมืองฯ/กร./อพ./พยุห์/ขข./นก.***
การดำเนินงานในปี 2555 1. มีการรณรงค์ 2. สุ่มประเมินความชุกลูกน้ำยุงลายปีละ 2 ครั้ง 3. ประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย 4. ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการดำเนินงาน (อปท.สนับสนุนสารเคมี) 5. RANKING ***ภส./ขห./กล./รษ./เมืองฯ/กร./อพ./พยุห์/ขข./นก.*** ***เสียชีวิต 1 ราย*** 10
11
ถือเป็นวาระของจังหวัดศรีสะเกษ
การดำเนินงานในปี 2556 ถือเป็นวาระของจังหวัดศรีสะเกษ 11
12
แนวทางการดำเนินงานในปี 2556
1. การรณรงค์ 4 ครั้ง -ครั้งที่ 1 วันที่ 2-8 ธันวาคม ครั้งที่ 2 วันที่ มีนาคม ครั้งที่ 3 วันที่ 9-15มิถุนายน ครั้งที่ 4 วันที่ สิงหาคม ตำบลจัดการไข้เลือดออกดีเด่น 1 ตำบล/1 อำเภอ 3. ประเมินโครงการ “ผ้าตาข่าย ลดโรคไข้เลือดออก” -รายงานเดือนละ 1 ครั้ง -สุ่มประเมินโดยจังหวัด (มค./กค.) 4. นิเทศติดตาม 5. การพัฒนาศักยภาพ/ conference case 6. การตรวจเลือดวิเคราะห์
13
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ
14
ไม่มีผู้ป่วยมาตั้งแต่ปี 2547-2555
สถานการณ์โรคคอตีบ ไม่มีผู้ป่วยมาตั้งแต่ปี 2539 = 1ราย 2540 = 1 ราย = 1 ราย 2546 = 1 ราย
15
ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
เด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ นักเรียน ป.1 ร้อยละ นักเรียน ป.6 ร้อยละ 98.49
16
แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ
1. ทบทวนตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน 2. ทบทวนองค์ความรู้เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 3. แจ้งผู้บริหารในที่ประชุม คปสจ. 4. ประชุมเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ /ตำบล 5. เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค 6. สื่อสารแจ้งเตือนเจ้าหน้าที่/ภาคีเครือข่าย/ประชาชน 7. พบผู้ป่วยแจ้งจังหวัดตลอด 24 ชั่วโมง /ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ภายใน 3 ชม.
17
แนวทางการดำเนินงาน ปี 2556
1. กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจน 2. ตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเป้าหมายทุกเดือน 3. บริหารวัคซีน/ระบบลูกโซ่ความเย็น 4. เฝ้าระวังภาวะ AEFI /ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มพิเศษ 5. ประเมินมาตรฐานการดำเนินงานปีละ 2 ครั้ง (ตามแบบฟอร์มกรมควบคุมโรค)
18
สวัสดี ศรีสะเกษแดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน
หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.