งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2555 วลีรัตน์ พูลผล กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง 1

2 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2555 ณ วันที่ 4 พย 55 (สัปดาห์ที่ 45)
Pt สะสม DHF+DF+DSS รวม 59,012 ราย อัตราป่วย /แสน Pt ตาย 58 ราย อัตราตาย0.09 /แสน อัตราป่วยตาย 0.1% ที่มา: สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

3 ต่อแสน อัตราป่วย 85.64 112.33 74.13 101.07 พบมากกลุ่ม 15– – – –24 ปี ที่มา : รง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 4 พย 55 wks 45

4 สถานการณ์ไข้เลือดออกประเทศไทยปี 2555
(ข้อมูล 1 มค - 4 พย 55) PT 59,012 ราย อัตราป่วย 92.90/แสน ปชก. Pt เสียชีวิต 58 ราย อัตราป่วยตายเท่ากับ 0.1% สัดส่วน (ชาย:หญิง) 1: 0.95 จังหวัดที่มีอัตราป่วย /แสน ปชก สูงสุด 5 อันดับแรก ระยอง /แสนปชก กระบี่ /แสนปชก จันทบุรี /แสนปชก ลพบุรี /แสนปชก ฉะเชิงเทรา /แสนปชก อัตราป่วยต่อแสน >10-50 >50-100 > >

5 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออก ภาพรวม สคร.7 อบ. รายเดือน
ปี 2555 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (50-54) ภาพรวมพื้นที่ สคร 7อัตราป่วยลดลงเมื่อเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี >20%= 23.63%

6 อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก จำแนกเป็นรายจังหวัดพื้นทีรับผิดชอบของ สคร
อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก จำแนกเป็นรายจังหวัดพื้นทีรับผิดชอบของ สคร.7 ปี 2555 (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ย. 2555) ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

7 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดในพื้นที่สคร 7 อบ จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550 – 2554) ค่าเป้าหมาย และ ปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

8 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอุบลราชธานี จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

9 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

10 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดยโสธร จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

11 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอำนาจเจริญ จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

12 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดสกลนคร จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

13 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดมุกดาหาร จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

14 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดนครพนม จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550 – 2554) ค่าเป้าหมาย และ ปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

15 คาดการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออก
1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง 1.1 การเกิดโรคซ้ำซาก อัตราป่วยในรอบ 5 ปี ( ) สูงกว่าค่า MEDIAN ของประเทศอย่างน้อย 2 ปี 1.2. อัตราป่วยปีปัจจุบัน (ปี 2555) ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วยต่ำสุดในรอบ 5 ปี ( ) 1.3 อัตราป่วยปีปัจจุบัน (ปี 2555) สูงกว่า MEDIAN ( ) ของจังหวัด 1.4 มีการแพร่ไปยังพื้นทีอำเภอต่าง ๆ มาก 1.5. เป็นพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว/เขตอุตสาหกรรม 2. การพยากรณ์โรคอย่างง่าย พยากรณ์การระบาดในระยะไกล พยากรณ์การระบาดในระยะใกล้

16 1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง
2.1 การเกิดโรคซ้ำซาก หมายถึง อัตราป่วยในรอบ 5 ปี ( ) จำนวนปีที่มีอัตราป่วยสูงกว่าค่า MEDIAN ของประเทศอย่างน้อย 2 ปี โดยค่า MEDIAN ของประเทศในแต่ละปี = MEDIAN ของอัตราป่วยของ 76 จังหวัดรายปี ( ) คะแนน ตามความถี่ของการระบาด คะแนน แนวคิด : การระบาดเกิดทุกปี แสดงให้เห็นว่ามีปัจจัยแวดล้อมเอื้อ ต่อการระบาด 2.2 อัตราป่วยปี (ม.ค.-ต.ค.55) ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วย ต่ำสุดในรอบ 5 ปี ( ) คะแนน ต่ำกว่า = 1, สูงกว่า = 0 ถ้าต่ำมากมีโอกาสระบาดมาก แนวคิด : การที่อัตราป่วยลดลงต่ำสุดในรอบ 5 ปี แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการระบาดจะมีโอกาสสูงในปีถัดไป

17 1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง (ต่อ)
2.3 อัตราป่วยปี สูงกว่า MEDIAN ( ) ของจังหวัด แสดงว่า ยังมีการระบาดอยู่ ปีถัดไปจะมีโอกาสน้อยกว่า คะแนน สูงกว่า = 0, ต่ำกว่า = 1 แนวคิด : อัตราป่วยที่ลดลงอย่างรวดเร็ว แสดงให้เห็นว่าจะยังมีโอกาสการระบาดอย่างรวดเร็วในปีถัดไป 2.4 ปี 2555 มีแพร่ไปยังพื้นทีอำเภอต่าง ๆ มาก (มีจำนวนอำเภอที่มีการระบาดมาก) คะแนน ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด < 26.79% = 3 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >26.79%-52.01% = 2 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >52.01% % = 1 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >64.62% = 0 แนวคิด : การระบาดสูงในหลายพื้นที่ สะท้อนการเกิดภูมิคุ้มกันในพื้นที่ ถ้ามีจำนวนอำเภอที่ระบาดน้อย จะมีโอกาสระบาดในปีถัดไปมากกว่า ถ้ามีจำนวนอำเภอที่มีการระบาดมาก จะมีโอกาสระบาดในปีถัดไปน้อยกว่า

18 1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง (ต่อ)
2.5 เป็นพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว/เขตอุตสาหกรรม คะแนน 1, 0 แนวคิด จังหวัดที่มีการเคลื่อนย้ายประชากรสูง (พื้นที่อุตสาหกรรม-สังคม-เศรษฐกิจ) มีโอกาสระบาดมากกว่า รวมคะแนนสูงสุด 11 คะแนน คะแนน โอกาสเสี่ยงน้อย คะแนน โอกาสเสี่ยงปานกลาง คะแนน โอกาสเสี่ยงสูง 8 – 11 คะแนน โอกาสเสี่ยงสูงมาก/หรือวิกฤต

19 2. การพยากรณ์โรคอย่างง่าย
พยากรณ์การระบาดในระยะไกล ใช้ข้อมูลระบบเฝ้าระวังระดับจังหวัด/อำเภอ มากกว่า 8 – 10 ปี (ดู trend) เลือกพื้นที่เสี่ยง 2.1. เป็นหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยหรือมีการระบาดในปีก่อนหรือ หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยไม่ติดต่อกัน 3 ปี 2.2 เป็นหมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรคแต่อยู่ใกล้พื้นที่เคยเกิดโรค เมื่อ 1 -3 ปี ที่ผ่านมา 2.3. เป็นหมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรคและเป็นชุมชนหนาแน่น 2.4. เป็นหมู่บ้านที่มีการคมนาคมจากชุมชนใหญ่สะดวก และพื้นที่ที่มีการไปมาหาสู่กันเสมอ 2.5. เป็นหมู่บ้านที่มีความชุกชุมของยุงลายสูง

20 2. การพยากรณ์โรคอย่างง่าย
พยากรณ์การระบาดในระยะใกล้ เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ทั้งคนและลูกน้ำ ถ้าพบว่าในช่วงปลายปีและต้นปี มีผู้ป่วยมากกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี แสดงว่า จะมีการระบาดรุนแรง (เน้นคุณภาพการรายงาน การวิเคราะห์ จากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรคที่ถูกต้อง ทันเวลา)

21 ความแม่นยำในการตรวจเพื่อช่วยวินิจฉัย
การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกเบื้องต้น วิธีการ/ระยะเวลาของโรคหรือมีไข้ ไข้สูง หน้าแดง ไม่มีน้ำมูก tourniquet test วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 sensitivity 73.3 90.5 85.5 53.3 90.6 98.7 specificity 93.3 89.2 87.9 75.8 77.8 74.2 ที่มา : แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี กระทรวงสาธารณสุข ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 1 ปี 2546 (พญ.ศิริเพ็ญกัลยาณรุจ, พญ.สุจิตรานิมมานนิตย์ (หน้า 33-34)

22 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google