ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
อันตราย เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90 โดย นายแพทย์สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
2
อ้วนลงพุง กลุ่มของปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน หรืออ้วน และกลุ่มคนที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
3
ลักษณะสำคัญ ภาวะต้านอินซูลิน อ้วนที่ท้อง (อ้วนลงพุง)
ความดันโลหิตสูงขึ้น ไขมันผิดปกติ
4
การวินิจฉัยภาวะอ้วนลงพุงมีลักษณะ
อ้วนลงพุงร่วมกับปัจจัยเสี่ยง 2 ใน 4 อย่าง ต่อไปนี้ ความดันโลหิต > 130/85 มม.ปรอท ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร > 100 มิลลิกรัม ต่อเดซิลิตร ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ >150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับไขมัน HDL < 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้ชาย หรือ < 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้หญิง
5
สำหรับประชาชนเพื่อกำกับตนเอง
การวัดเส้นรอบพุง สำหรับประชาชนเพื่อกำกับตนเอง วัดในท่ายืนแยกเท้าห่างกัน ~ 10 ซม. วัดที่ระดับสะดือ วัดช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบลำตัวไม่รัดแน่น สายวัดวางในแนวระดับขนานกับพื้น
6
การวัดเส้นรอบพุงสำหรับการวิจัย การประเมินผลโดยเจ้าหน้าที่
วัดในท่ายืนแยกเท้าห่างกัน ~ 10 ซม. วัดรอบพุงบริเวณขอบบนของกระดูก เชิงกรานทั้ง 2 ข้าง วัดช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบลำตัว ไม่รัดแน่น สายวัดวางในแนวระดับขนานกับพื้น (กรม คร.แนะวัดรอบเอวที่ระดับกึ่งกลางระหว่างปลาย ของกระดูกซี่โครงซี่สุดท้ายกับขอบบนของกระดูกเชิงกราน)
7
อ้วนลงพุง กล้ามเนื้อ FFA ไขมันในช่องท้องมากเกิน ตับ ตับอ่อน
ภาวะต้านอินซูลิน หลอดเลือดแดง หดตัวมาก คลายตัว FFA ตับ น้ำตาลออกมาก ไขมันออกมาก ตับอ่อน หลั่งอินซูลิน อ้วนลงพุง Intra-Abdominal Adiposity ไขมันในช่องท้องมากเกิน
8
ปัจจัยเสี่ยงทางสรีรวิทยา
ปัจจัยเสี่ยงที่ เปลี่ยน แปลงไม่ได้ อายุ เพศ พันธุกรรม ผลลัพธ์สุดท้าย โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหัวใจจากความดันสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ ปัจจัยเสี่ยงทางสรีรวิทยา ความดันสูง เบาหวาน ภาวะต้านอินซูลิน ไขมันชนิดเลวสูง(LDL) โรคอ้วน ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยน แปลงได้ ขาดการออกกำลัง กินอาหารที่อุดมด้วยไขมัน เกลือ พลังงาน สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์มาก
9
ความเสี่ยงต่อสุขภาพ ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นมาก (มากกว่า 3 เท่า)
เบาหวานชนิดที่ 2 โรคถุงน้ำดี ไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหยุดหายใจขณะหลับ หายใจขัด
10
ข้อเสื่อม (เข่า สะโพก) กรดยูริกในเลือดสูง (เก๊าท์)
ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นปานกลาง (2-3 เท่า) โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง ข้อเสื่อม (เข่า สะโพก) กรดยูริกในเลือดสูง (เก๊าท์)
11
ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นน้อย (1-2 เท่า)
มะเร็ง (เต้านม มดลูก ลำไส้) ฮอร์โมนระบบสืบพันธุ์ผิดปกติ กลุ่มอาการถุงน้ำรังไข่ มีบุตรยาก ผลแทรกซ้อนจากการดมยาสลบ ความผิดปกติของทารกในครรภ์
12
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.