งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนปฏิบัติการประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2553 - 2556

2 แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)
ภายในปี พ.ศ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นไทยสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีความตระหนัก ความรู้และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ จัดกิจกรรมบูรณาการ พัฒนาและเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดทำโครงงานสุขภาพ ครอบครัวมีการเฝ้าระวัง พฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว มีระบบการดูแลช่วยเหลือ จัดทำข้อเสนอแนะ/ข้อตกลงสู่ชุมชน ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ มีทักษะการทำแผนงาน/โครงการ แสวงหาทุน ระดับประชาชน (Valuation) สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ บูรณาการหลักสูตร สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สธ.สนับสนุนวิชาการและ บริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ ถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นศูนย์ประสานงาน อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง มีข้อกำหนดท้องถิ่นรองรับ ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน บูรณาการงานร่วมกัน สนับสนุนทรัพยากร สร้างกระแส ชี้นำสังคม (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม ถอดบทเรียน/รูปแบบการพัฒนางาน จัดทำข้อเสนอเพื่อการพัฒนา/แก้ไขปัญหา มีการพัฒนานวัตกรรมและ องค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ มีคลังความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม แสวงหาความต้องการ มีการสื่อสารสาธารณะ ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล พัฒนาเนื้อหา พัฒนาช่องทางสื่อสาร ระดับกระบวนการ มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย พัฒนาผู้ใช้และผู้ดูแลระบบ มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูล สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เร่งรัดการเป็นผู้นำและทำงานเป็นทีม สร้างเสริมจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน สร้างค่านิยมองค์กรแห่งการเอื้ออาทร สร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจ ระดับ พื้นฐาน

3 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ.2554 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ KPI แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ 15 14 13 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว KPI แกนนำครอบครัวสามารถทำบทบาทเฝ้าระวังพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีความตระหนัก ความรู้และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ บุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ KPI แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ KPI มีแผนชุมชน/นวตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและเยาวชน 12 9 สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ KPI มีโรงเรียนต้นแบบ 11 10 อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ KPI อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเก็กวัยเรียนวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน -บูรณาการงานร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี สธ.สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ KPI มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 8 6 ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล KPI มีสื่อควมรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม KPI ภาคีเครือข่ายสามารถจัดทำกิจกรรม/โครงการฯ มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล -พัฒนาระบบกำกับติดตาม 7 ระดับกระบวนการ (Management) 5 มีการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ KPI มีองค์ความรู้และนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 4 1 2 มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย KPI มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง KPI มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงาน ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) มีวัฒนธรรมองค์กที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน KPI มีสถานที่ทำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 3

4 แนวคิดการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
แกนนำ/เครือข่าย ครอบครัว ครอบครัว ระบบการเฝ้าระวังเด็กวัยเรียน และวัยรุ่นในครอบครัว สามารถประเมินและดูแลสุขภาพ แสวงหาบริการสุขภาพ อย่างเหมาะสม ส่งเสริมระบบเฝ้าระวัง สุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น แผนชุมชน/ นวัตกรรม ชุมชน วัยรุ่นต้นแบบ แผนพัฒนาเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น จัดทำแผนพัฒนาเด็กวัยเรียน และวัยรุ่นแบบบูรณการ ท้องถิ่น เด็กวัยเรียนและเยาวชน มีความตระหนัก มีความรู้และทักษะชีวิต ด้านส่งเสริมสุขภาพ สถานบริการสุขภาพ สนับสนุนวิชา/บริการสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตร ชมรม/ศูนย์เรียนรู้ เด็กนักเรียนและวัยรุ่นไทยสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สพท./ร.ร พัฒนาโรงเรียนต้นแบบ แกนนำเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น สร้างการมีส่วนร่วมสภาเด็ก/ สภานักเรียน ส่งเสริมระบบการเฝ้าระวังสุขภาพ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ดูแลสุขภาพตนเอง กรมอนามัย สร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่าย ถ่ายทอดความรู้ในชุมชน สนับสนุนให้หลักสูตร RHในสถานศึกษา การรณรงค์สร้างกระแส ผลิตคู่มือ มาตรฐาน สื่อ รวมกลุ่มแก้ปัญหา ถ่ายทอดองค์ความรู้ / นวัตกรรม สร้างข้อตกลงในชุมชน การจัดการความรู้ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้

5 เป้าประสงค์ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นไทยสุขภาพดี
มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

6 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (KRI) เป้าหมาย
ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี 18 16 14 12 จำนวนจังหวัดที่มี่เด็กอายุ 12 ปี ปราศจาก ฟันผุร้อยละ45 ขึ้นไป 40 50 60 70 - จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับเพชร 36 กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 6 6 6 6

7 พันธมิตร/ภาคีเครือข่ายการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
1. สภาเด็กและเยาวชน/สภาเยาวชน/สภานักเรียน 2. กระทรวงพัฒนาสังคมฯ 3. กระทวงศึกษาธิการ (สพท./สพฐ.) 4. มหาวิทยาลัย 5. สำนักงานสาธารณสุข/โรงพยาบาล 6. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น 7. สื่อมวลชน

8 นโยบาย/คณะกรรมการสนับสนุนการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
1.นโยบายและยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์ - เป้าประสงค์หนึ่งของนโยบายคือ เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี โดยเฉพาะเรื่องสุขภาพทางเพศในกลุ่มวัยรุ่นทั้งนี้ บนหลักความสมัครใจเสมอภาคและทั่วถึง - ยุทธศาสตร์ - ส่งเสริมให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพ ทางเพศที่เหมาะสม - พัฒนาระบบบริการอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ 2. คณะกรรมการ/คณะทำงานอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ 3. คณะกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์จังหวัด 4. อยู่ในบทบัญญัติแห่ง พรบ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 5. นโยบายปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ 6. สพท.อ่อนหวาน

9 แหล่งเงินทุนสนับสนุนการดำเนินงาน
- สสส. - สคส. - สปสช. - องค์การระหว่างประเทศ

10 แผนปฏิบัติการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2553-2556

11 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับพื้นฐาน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 1. พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ - พัฒนาและปรับปรุงเว็บไซด์ Friend Corner.biz มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 1 เรื่อง  กอง.อพ -พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ มีระบบและมีผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล มีระบบ/ผู้ดูแลระบบข้อมูล 1 ระบบ (ศูนย์ละ 1-2 คน) กอง ทันตฯ - ติดตามประเมินผลและจัดทำสถานการณ์ทันตสุขภาพ 1 ครั้ง - จัดทำฐานข้อมูลการประเมินสมรรถนะบุคลากรสำนักส่งเสริมสุขภาพด้านการพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น สำนัก ส.* - พัฒนาเว็บไซด์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สำนัก ส.

12 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับพื้นฐาน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 2. ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง -ประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน 2 ครั้ง กอง.อพ. - จัดอบรมบุคลากร ให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ครั้งแรกอายุต่ำกว่า 20 ปี 12ศูนย์/24จว. - รวบรวมรายชื่อโรงเรียนเพื่อพัฒนาเครือข่าย 576 ร.ร. กอง ทันตฯ - อบรมพัฒนาศักยภาพการทำงานเป็นเครือข่าย รร.ส่งเสริมทันต์ 120 คน - จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างเครือข่าย 300 คน - สรุปบทเรียนกระบวนการสร้างเครือข่าย 1 ครั้ง - สรุปองค์ความรู้และนวัตกรรมจากการดำเนินงานเครือข่าย 1 เรื่อง - จัดทำคู่มือ สามารถดำเนินงาน เฝ้าระวังได้ - สัมมนาผู้ที่เกี่ยวข้อง/สรุปและจัดทำเอกสาร มีข้อมูลเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหา

13 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับพื้นฐาน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 2. ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง  - จัดทำการประเมินสมรรถนะบุคลากร มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะ 50 % 60 % 70 % 80 % สำนัก ส. - ประมวลจัดทำฐานข้อมูลการประเมินสมรรถนะ มีฐานข้อมูลสมรรถนะบุคลากร 1 - จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะหลักรายบุคคล - ประมวลหลักสูตรและจัดอบรมฯ - พัฒนาสมรรถนะการเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม บุคลากรมีสมรรถนะและทักษะตามเกณฑ์ 60 คน - สร้างเสริมความรู้และ-ทักษะเฉพาะทาง/หลักสูตรที่สอดคล้องกับงาน 30 คน - สัมมนาสัญจรวิชาการสุขอนามัยในถิ่นทุรกันดาร 40 คน สำนัก ส.* - คัดเลือกหน่วยงาน /คนสร้างสรรค์ในถิ่นทุรกันดาร 10หน่วยงาน

14 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับกระบวนการ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 4. มีการจัดการความรู้ - ประชุมการจัดการความรู้การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น(ระดับจังหวัด) มีองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 1 เรื่อง กอง อ.พ - จัดทำเกณฑ์มาตรฐานครอบครัวต้นแบบและแนวทางสู่ครอบครัวอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 1 เรื่อง/ 3 จังหวัด ศูนย์ 2/4/6 จัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนต้นแบบและแนวทางสู่อนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเจริญ เติบโตของเด็ก 6-18 ปี 1เรื่อง กองโภชนาการ - ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ 2 ครั้ง สำนัก ส. - วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพในถิ่นทุรกันดาร 5 เรื่อง สำนัก ส -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงาน (พื้นที่สูง) 1 ครั้ง สำนัก ส* - พัฒนาและสร้างเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร 12 ศูนย์/ 24 ร.ร สำนัก ส.ศูนย์เขต* - ประชุมวิชาการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ครั้งที่3 (ปลาย มี.ค) 600คน - สัมมนาสัญจรโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 50คน

15 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับกระบวนการ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 5. พัฒนาสื่อบุคคล - สื่อสร้างสรรค์สารพันข่าวสาร: สนับสนุนสื่อเอกสารวิชาการ มีสื่อความรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ 20,000 เล่ม 30,000 เล่ม 40,000 50,000 สำนัก ส - คู่มือสอนสนุก ปลุกความคิดเชื่อมชีวิตการเรียนรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก 1 เล่ม กอง ทันตฯ - เทปเพลงการแปรงฟัน ชุดที่ 3 1 ชุด - วิดิทัศน์สำหรับครูและ จนท.สธ.เรื่องการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน 1 เรื่อง 6. สร้างการมีส่วนร่วม - ประชุมชี้แจงโครงการประกวดคู่หูทันตสุขภาพกับศูนย์อนามัยเขต (ต.ค) ภาคีเครือข่ายสามารถจัดกิจกรรม/โครงการ 36 คู่หู/ 72 ร.ร - พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการสร้างและใช้แผนยุทธศาสตร์การเจริญเติบโตเด็ก6-18 ปี 20 คน 80 คน 400คน โภชนาการ - จัดทำทะเบียนผู้ประสานงานหลักและภาคีเครือข่าย 2ครั้ง สำนักส * -สร้างการมีส่วนร่วมในการผลักดันแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 60 คน สำนัก ส*

16 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ภาคีเครือข่ายดำเนินการเฝ้าระวังตามเกณฑ์
ระดับกระบวนการ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 7. พัฒนาระบบกำกับติดตาม - สร้างระบบติดตามประเมินผลการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน 6-18 ปี 60คน 20คน 100คน กอง โภชนาการ - ผลักดัน/สนับสนุนให้เครือข่ายดำเนินการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตเด็ก 6 – 18 ปี ภาคีเครือข่ายดำเนินการเฝ้าระวังตามเกณฑ์ 75 จว. 75จว. - พัฒนาระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพเด็กและเยาวชน 1 ครั้ง สำนัก ส - นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย 4ครั้ง 15 ครั้ง สำนัก ส* - ตรวจเยี่ยมและร่วมรับเสด็จ 2 ภาค 4ภาค - ประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ร.ร.ส่งเสริมฯที่ผ่านการประเมิน 36ร.ร. 36ร.ร

17 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 8. มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ   - สนับสนุนสถานบริการให้มีการจัดบริการที่เป็นมิตรและมีคุณภาพ(ศูนย์ละ 1จังหวัด) มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 120 รพ. กอง อ.พ/ศูนย์เขต 9. สร้างองค์กรต้นแบบ  - สร้างโรงเรียนต้นแบบ มีโรงเรียนต้นแบบ 3 จังหวัด30 รร. 2จังหวัด20 รร. 2จังหวัด 20 รร. 20รร. กอง อ.พ - สร้างครอบครัวต้นแบบ มีครอบครัวต้นแบบ 300ครอบครัว 200 ครอบครัว - โครงการ สพท.อ่อนหวาน เกิดเขต พท.การศึกษาปลอดน้ำอัดลม 50 100 150 185 กอง ทันตฯ - พัฒนากลุ่มโรงเรียนคุณภาพ(Good practice model) 10%ของ ร.ร สพฐ 20%ของ ร.ร สพฐ 30 %ของ ร.ร. สพฐ 40%ของร.ร. สพฐ - ประเมินผลการดำเนินงานตามหลักสูตร 1 เรื่อง - พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้โปรแกรมการเฝ้าระวังฯผ่านระบบ E-service (เหลืออยู่ 27จังหวัด) สามารถเป็นโรงเรียนต้นแบบการเฝ้าระวัง 120คน สำนัก ส

18 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับภาคีครือข่าย กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 11. มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ - อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อบรรจุหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์ในระดับมหาวิทยาลัย -จำนวนมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์ 5 ม. กอง อ.พ - ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธ์ระดับปริญญาตรี จำนวนมหาวิทยาลัยที่หลักสูตรผ่านการอนุมัติจาก สภามหาวิทยาลัยและสคอ. 15 ม. 18 ม. 23 ม. 26 ม. ประชุมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคู่มือการสอน อพ.ในระดับอุดมศึกษา 18 คน 26 คน - ประชุมเพื่อขยายรูปแบบการทำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ จังหวัดมีแผนยุทธศาสตร์อนามัย การเจริญพันธุ์ 15 จ.ว. -จัดกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมกับ อปท.ในการจัดทำแผน อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น 120คน สำนัก ส - จัดเวทีสัมมนาประชาคมบูรณาการร่วมกัน 150 คน - จัดกระบวนการเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับโรงเรียน/ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน .ในถิ่นทุรกันดาร 300แห่ง สำนัก ส* - สนับสนุนและพัฒนาสู่การเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 36แห่ง

19 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 11. มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ -สนับสนุนและพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนฯ ต้นแบบ 20แห่ง สำนัก ส * - ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนการสอนการเตรียมความพร้อมการเป็นพ่อแม่ที่ดี 2ครั้ง - สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อจัดอบรมในการจัดทำแผนการสอนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ 5ครั้ง สำนัก ส*

20 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ
ระดับประชาชน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 12. ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ - เสริมสร้างศักยภาพนักเรียนแกนนำในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร มีแผนพัฒนาชุมชน /นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 300คน/ 36 รร. 300 คน/ 36 ร.ร. สำนักส * - จัดทำคู่มือ/หนังสือ 20,000เล่ม 20,000 เล่ม - จัดซื้อวิตามินเสริมธาตุเหล็กและไอโอดีน 200แห่ง 700แห่ง - สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับแกนนำชุมชนในการจัดทำแผนงานโครงการ 200คน - ส่งเสริมให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบ 5ครั้ง

21 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ แกนนำโภชนาการดำเนินงานเฝ้าระวัง
ระดับประชาชน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 13. จัดตั้งชมรม /แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์การเรียนรู้ - สร้างแกนนำเยาวชนด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 180 คน กอง อ.พ เพิ่มพูนความรู้และทักษะชีวิตด้านอนามัยการเจริญพันธุ์แก่เยาวชนในสถานสงเคราะห์และสถานศึกษา 250 คน - พัฒนาศักยภาพแกนนำวัยใสด้านโภชนาการ แกนนำโภชนาการดำเนินงานเฝ้าระวัง 240คน 260คน กอง โภชนาการ - พัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายชมรมเด็กไทยทำได้ระดับจังหวัด นักเรียนแกนนำสามารถเป็นต้นแบบ 150คน 160คน สำนัก ส - เสริมสร้างศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ(เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้) 1,800 คน สำนัก ส / 12 ศูนย์เขต -พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำใน ร.ร.สังกัดระทรวงศึกษาธิการ 92 ร.ร. 15. เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ - สร้างนักเรียนแกนนำต้นแบบเฝ้าระวังน้ำดื่มในโรงเรียน (ศูนย์ 11 /12 ดำเนินการแล้ว) 10 ศูนย์/ 10 ร.ร./ 100 คน

22 งบประมาณจัดสรรให้ศูนย์อนามัย พ.ศ. 2553
โครงการ ศูนย์อนามัยทั้ง 12 เขต เป้าหมาย แต่ละศูนย์ฯ งบประมาณ หน่วยงาน สนับสนุนการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น (ศูนย์เขตละ 1 จังหวัด) 1จว./50 คน .25 กอง อพ. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานจังหวัด 4 แห่ง .08 อบรมแกนนำนักเรียน/สภาเด็กและเยาวชน 12 ศูนย์เขต 0.1 สนับสนุนการดำเนินงานโครงการเครือข่ายเด็กไทยฟันดีและติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานจังหวัด 2 จว./ 6 เครือข่าย/ 60โรงเรียน .15 กองทันตฯ - สร้างระบบติดตามและประเมินผล (M&E) ด้านการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน อายุ 6-18 ปี) - ประชุมพัฒนาระบบติดตามประเมินผล 60 คน/3 ครั้ง .04 กองโภชนาการ

23 งบประมาณจัดสรรให้ศูนย์อนามัย พ.ศ.2553
หน่วยต่อล้าน โครงการ ศอ.1 ศอ.2 ศอ.3 ศอ.4 ศอ.5 ศอ.6 เป้าหมาย งบ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1. เสริมสร้างศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้HPSก้าวสู่ระดับเพชรระดับ ศอ.) 16 ร.ร. .09 2. พัฒนาและสร้างเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร 2 ร.ร. .05 3. สร้างเสริมศักยภาพนักเรียนแกนนำในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร - 4. สำรวจสภาวะสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน(ตชด.) 1 โครงการ .03 5. จัดเวทีสัมมนาวิชาการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(ตลาดนัดความรู้สู่สุขอนามัยแม่และเด็กและเยาวชนในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา) กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 23 23 23 23

24 งบประมาณจัดสรรให้ศูนย์อนามัย พ.ศ.2553
หน่วยต่อล้าน โครงการ ศอ.7 ศอ.8 ศอ.9 ศอ.10 ศอ.11 ศอ.12 เป้าหมาย งบ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1. เสริมสร้างศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้HPSก้าวสู่ระดับเพชรระดับ ศอ.) 16 ร.ร. .09 20 ร.ร. .12 32 ร.ร. .19 28 ร.ร. .16 2. พัฒนาและสร้างเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร 2 ร.ร. .05 3. สร้างเสริมศักยภาพนักเรียนแกนนำในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร - 2 จังหวัด .40 13 ร.ร. 3 จังหวัด 5 ร.ร. .10 4. สำรวจสภาวะสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน(ตชด.) 1 โครงการ .03 5. จัดเวทีสัมมนาวิชาการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(ตลาดนัดความรู้สู่สุขอนามัยแม่และเด็กและเยาวชนในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา) 1ครั้ง/ 200 คน .50 กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 24 24 24 24

25 งบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2553
- ส่วนกลาง กองอนามัยการเจริญพันธุ์ ล้าน (ปี 2552 = 14.0) กองทันตสาธารณสุข ล้าน (ปี 2552 = 8.8) สำนักส่งเสริมสุขภาพ ล้าน (ปี 2552 = 7.2) กองโภชนาการ ล้าน (ปี 2552 = 0) - ศูนย์อนามัย 3.50 ล้าน รวม ล้าน (ปี 2552 = 30)


ดาวน์โหลด ppt แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google