งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เรื่อง “แนวคิดพื้นฐานทางกฎหมายในการจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์” อิทธิพล ปรีติประสงค์

2 เค้าโครงการนำเสนอ นิยามศัพท์เบื้องต้น คำว่า “เครือข่าย สังคมออนไลน์”
ความน่าสนใจและความท้าทายเชิง แนวคิด สมมุติฐานของการศึกษา หลักการและเหตุผล เป้าหมายของการศึกษา ประโยชน์ที่จะได้รับ วิธีการศึกษา

3 (๑) เครือข่ายสังคมออนไลน์ หมายถึง
Pangya Ragnarok Audition

4

5

6

7

8

9

10

11

12 (๒) ความน่าสนใจ และ ท้าทายเชิงแนวคิด
(๑) การจัดสรร “เอกชน” บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ สัญชาติ ภูมิลำเนา ความไร้พรมแดนทางกายภาพ การก่อตั้งสภาพบุคคลเสมือนจริง (๒) กฎหมายในฐานะกลไกการจัดการความสัมพันธ์ของเอกชนและสังคมออนไลน์ แพ่ง ; พรบ.ธุรกรรมฯ ปพพ อาญา ; ป.อาญา, พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมฯ ลิขสิทธิ์ ปราบปราม ไม่มีประสิทธิภาพที่แท้จริง บังคับไม่ได้ ชุมชน BitTorrent กับ มาตรา ๑๔ พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๑

13 ความน่าสนใจและความท้าทายเชิงแนวคิด (๓) สมมุติฐานของการศึกษา
“กฎหมายที่มีอยู่ไม่มีประสิทธิภาพที่เพียงต่อการจัดการ ปัญหาเรื่องเครือข่ายสังคมออนไลน์” จาก กฎหมายอาญา มาสู่ พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จาก ปพพ มาสู่ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ การบังคับใช้กฎหมายเดิมใช้ไม่ได้ในทางปฏิบัติ มีการพัฒนาจารีตประเพณีโดยเครือข่ายสังคมออนไลน์ แนวคิดพื้นฐานทางกฎหมายในการจัดการเครือข่ายสังคม ออนไลน์ต้องมีการเปลี่ยนแปลง เขตอำนาจรัฐใช้ไม่ได้ในทางปฏิบัติ การจัดสรรเอกชนโดยอาศัยจุดเกาะเกี่ยวแบบเดิมใช้ไม่ได้ บทบาทของรัฐในชุมชนออนไลน์ต้องมีการเปลี่ยนแปลง

14 (๔) หลักการและเหตุผล สถานการณ์ด้านกฎหมายและการจัดการ
กฎหมาย (ลายลักษณ์อักษร) ทั้งทางแพ่ง อาญา แนวปฏิบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ การจัดสรรเอกชน การจัดการทรัพย์สิน (Creative Common) การจัดการความสัมพันธ์ในทางที่เกี่ยวข้องกับความสงบเรียบร้อยของชุมชน เช่น เรื่องเนื้อหา กติกาพลเมืองชาวเน็ต สถานการณ์ด้านข้อเท็จจริง จาก 1.0 มาเป็น 2.0 เป้าหมายของการใช้งานเปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงทางสังคมของผู้ใช้งาน มีการเชื่อมและข้ามเครือข่ายสังคมออนไลน์ (๑) แนวคิดเรื่องการจัดสรรเอกชน และ ชุมชน เสมือนจริง ต้องมีการพัฒนาแนวคิด (๒) กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มีอยู่ สะท้อนปรากฎการณ์อำนาจรัฐสมัยใหม่ที่เน้นอำนาจเชิงการปราบปราม ควบคุม ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการจัดการ (๓) กติกาชุมชนในได้รับการยอมรับและปฏิบัติในกลุ่มเครือข่ายและข้ามเครือข่ายมีผลในทางปฏิบัติที่ดีกว่า “หลักกฎหมายพื้นฐาน” ที่จำเป็นต่อการจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อเป็นหลักการพื้นฐานในการพัฒนากฎหมายลายลักษณ์อักษรต่อไป

15 แนวคิดเบื้องต้นที่ได้ศึกษา
แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยในโลกอินเทอร์เน็ต แนวคิดเรื่อวบทบาทของรัฐกับหลักการพื้นฐาน ทางกฎหมายในการจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์ การรับรองเครือข่ายออนไลน์ ในฐานะพลเมือง ชาวเน็ต หรือ Netizen ถึงการมีตัวตนตามกติกา ชาวเน็ต และ สิทธิของพลเมืองชาวเน็ตที่ได้รับ การรับรองจากรัฐ

16 (๕) เป้าหมายของการศึกษา
เพื่อศึกษา รูปแบบ การปรากฎตัวของเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อศึกษากติกาเครือข่ายสังคมออนไลน์ (การจัดสรรเอกชน การดูแลชุมชน กติการ่วมของเครือข่าย การจัดการทรัพย์สิน) เพื่อศึกษากฎหมายทีมีอยู่ (กฎหมายภายใน กฎหมายต่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ) แนวคิดพื้นฐาน แนวคิดพื้นฐาน เพื่อสังเคราะห์หลักการพื้นฐานทางกฎหมาย ที่จำเป็นต่อการจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์

17 (๖) ผลลัพธ์และประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา
ข้อเสนอ “หลักการพื้นฐานทางกฎหมาย ที่จำเป็นต่อการจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์” กฎหมายลายลักษณ์อักษร ความตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายแม่บท

18 เวทีวิชาการ (๗) วิธีการศึกษา เอกสาร ตำรา สัมภาษณ์เชิงลึก
วิจัยเชิงประจักษ์ สัมภาษณ์เชิงลึก


ดาวน์โหลด ppt ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google