งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Thyroid.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Thyroid."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 thyroid

2 ต่อมธัยรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดของร่างกายมีน้ำหนักประมาณ
20 กรัม ในผุ้ใหญ่ มีรุปร่างคล้ายผีเสื้อ ตั้งอยุ่บริเวณคอระหว่างหลอดลมและกล่องเสียง

3 ต่อมธัยรอยด์จะหลั่งฮอร์โมน 2 ชนิด
1.ธัยรอกซิน( Thyroxine ) T4 2.ไตรไอโอโดธัยโรนิน( Triiodothyronine ) T3

4 ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์
1.ต่อมธัยรอยด์โตหรือคอพอก( Goiter ) 2.ต่อมธัยรอยด์ทำหน้าที่มากเกินไป (Hyperthyroidism) หรือต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ (Thyrotoxicosis) 3.ต่อมธัยรอยด์ทำหน้าที่น้อยเกินไป(Hypothyroidism)

5 อาจเกิดจากความผิดปกติใน3อย่างต่อไปนี้ 1.โรคคอพอก ( Simple goiter )
ต่อมธัยรอยด์โต อาจเกิดจากความผิดปกติใน3อย่างต่อไปนี้ 1.โรคคอพอก ( Simple goiter ) 2.ต่อมธัยรอยด์อักเสบ ( Thyroiditis ) 3.เนื้องอกของต่อมธัยรอยด์

6 โรคคอพอกแบ่งเป็น 2 ชนิด
1.โรคคอพอกเฉพาะถิ่น ( Endodemic goiter ) พบมากทางภาคเหนือของประเทศไทย สาเหตุ 1.ขาดสารไอโอดีนในอาหารที่บริโภค

7 โรคคอพอกไม่จำกัดท้องถิ่น
สาเหตุ 1.มีความบกพร่องทางพันธุกรรม 2.รับประทานอาหารที่ก่อให้เกิดคอพอกจำนวนมาก 3.รับประทานยาบางอย่างที่มีสารทำให้เกิดคอพอก

8 การวินิจฉัย -จากอาการ -การตรวจร่างกาย การรักษา
1.รักษาด้วยไอโอดีน หรือ ฮอร์โมนธัยรอยด์ 2.การผ่าตัดเอาต่อมธัยรอยด์ออกบางส่วน (Subtotal thyroidectomy)

9 การอักเสบของต่อมธัยรอยด์มี 3 ชนิด
ต่อมธัยรอยด์อักเสบ การอักเสบของต่อมธัยรอยด์มี 3 ชนิด 1.ต่อมธัยรอยด์อักเสบเฉียบพลันจากมีหนอง ( Acute supparative thyroid ) 2.ต่อมธัยรอยด์อักเสบปานกลางจากเนื้องอกเล็ก ( Subacute granulomatous thyroiditis ) 3.ต่อมธัยรอยด์อักเสบเรื้อรัง ( Chronic thyroiditis)

10 สาเหตุ การวินิจฉัย * เชื้อแบคทีเรีย * เชื้อไวรัสหรือสเตร็ปโตคอคคัส
* พันธุกรรมหรือจากร่างกายต้านระบบภุมิคุ้มกัน ของตนเอง การวินิจฉัย * จากอาการและอาการแสดง * การตรวจเลือด * การตรวจร่างกาย

11 การรักษา 1.การให้ฮอร์โมนธัยรอยด์ 2.การให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ ระยะสั้น
3.การผ่าตัด

12 ภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ
เกิดจาก 1.การทำงานของต่อมธัยรอยด์มากขึ้น 2.การที่ต่อมธัยรอยด์ไม่ได้ทำงานมากขึ้น แต่ระดับ ธัยรอยด์ฮอร์โมนสุงขึ้น จากการอักเสบของต่อม ธัยรอยด์ หรือ ได้รับยาธัยรอยด์ฮอร์โมนมากเกินไป

13 อาการ 1. เหนื่อย ใจสั่น 2.รับประทานอาหารเก่งแต่น้ำหนักลด 3. ขี้ร้อน เหงื่อออกมาก 4. โมโห หงุดหงิดง่าย 5. นอนไม่หลับ 6. มีอาการถ่ายอุจจาระบ่อย 7. บางครั้งมีประจำเดือนผิดปกติ

14 อาการแสดง 1. หลุกหลิก กระสับกระส่ายไม่อยู่นิ่ง 2. มีมือสั่น ตาโปน 3. ผิวหนังชุ่มชื้น 4. ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสุง 5. อาจมีอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว 6. บวมที่หน้าแข้ง 7. มีอาการมากอาจถึงขั้นพายุธัยรอยด์ 8. มีไข้สูง มีการเร้าประสาทกล้ามเนื้อ และเพ้อคลั่ง

15 สาเหตุ สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบ แต่จะสัมพันธ์กับ 1. พันธุกุรรม 2. เพศ 3. อารมณ์ อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชายที่มีภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ 6:7 -7:1 บุคคลที่มีอารมณ์เครียดเสมอ มีอุบัติการการเกิด โรคนี้สุง

16 การรักษา 1. ให้ยา 2. ให้ไอโอดีนกัมมันตรังสี 3. การผ่าตัด การรักษาที่เป็นที่ยอมรับและนิยมทั่วไป คือการผ่าตัด ซึ่งจะกระทำภายหลังจากเตรียมผุ้ป่วยโดยให้รับประทาน ยาต้านธัยรอยด์จนผุ้ป่วยพ้นจากสภาพพิษธัยรอยด์เข้าสุ่ สภาวะปกติ

17 การปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดธัยรอยด์
1. การหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ 2. การไออย่างมีประสิทธิภาพ 3. การออกกำลังกายแขนและขาทั้ง 2ข้าง 4. การเคลื่อนไหวร่างกายหลังผ่าตัด ( early ambulation) 5. การออกกำลังกล้ามเนื้อบริเวณคอ

18 การปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
1. สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ 2. การดุแลแผลผ่าตัด 3. การรับประทานอาหาร 4. การรับประทานยา 5. การพักผ่อน 6. การสังเกตุอาการผิดปกติ 7. การมาตรวจตามนัด

19 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt Thyroid.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google