งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปัญหาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปัญหาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปัญหาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
* พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช หมวด 4 มาตราที่ * รายงานผลสรุปการศึกษาศักยภาพของเด็กไทย * การคิดอย่างมีวิจารณญาณ

3 จุดมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

4 จุดมุ่งหมายของการวิจัย (ต่อ)
จุดมุ่งหมายของการวิจัย (ต่อ) 2. เพื่อวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังใช้ชุดกิจกรรมเทียบเกณฑ์ร้อยละ 80 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

5 ขอบเขตการวิจัย ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย อำเภอเชียงคาน จังหวัด เลย คน

6 ขอบเขตการวิจัย (ต่อ) เนื้อหาที่ใช้ คือ ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ระยะเวลาดำเนินการ คือ ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2548

7 คำนิยามศัพท์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมตามเกณฑ์ 80/80 ความพึงพอใจ

8 วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร / กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ - แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ - แบบสอบถามความพึงพอใจ

9 วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ)
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล - ผู้วิจัยเก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยใช้แบบวัดทักษะการคิดเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย - t- test แบบ One -Sample - ร้อยละ , ค่าเฉลี่ย

10 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความหมายของชุดกิจกรรม ความพึงพอใจ

11 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) งานวิจัยในประเทศ * กัลยาณี ด่านนคินทรรัตน์ และคณะ (2545) เปรียบเทียบ การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหมวกแห่งความคิด 6 ใบ * จิรมัย ศิริทัพและคณะ (2545) พัฒนาชุดกิจกรรมโครงงาน วิทยาศาสตร์ เรื่องสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

12 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) งานวิจัยในประเทศ * แฮร์ริสัน (Harrison, 1984) ความสัมพันธ์ระหว่าง การจำแนก ความคิดของ Boom (Booms Taxonomy) กับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

13 กรอบแนวคิดทางการวิจัย
ขั้นที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ ศึกษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ยกร่างชุดกิจกรรม ผ่านผู้เชี่ยวชาญ ทดลองใช้ หาประสิทธิภาพ E1/E2

14 กรอบแนวคิดทางการวิจัย
ขั้นที่ 2 การใช้ * นำชุดกิจกรรมไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย . *ทำการทดสอบผลและประเมินผลการใช่โดย *เทียบเกณฑ์ที่กำหนด ขั้นที่ 3 การประเมินผล * ประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อชุดกิจกรรม

15 ผู้วิจัย นางจรินยา นาหัวนิน สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ปัญหาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google