งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2 ประเด็นนำเสนอ งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ ที่ได้รับ กรอบในการกำหนดแนวทางการบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557

3 งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 ที่ได้รับ

4 ความเป็นมา 7 ม.ค.2556 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีมติเห็นชอบข้อเสนองบประมาณงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2557 (งบกองทุน และงบบริหารจัดการ สปสช.) 25 ม.ค.2556 สปสช.เสนอหนังสือไปยังสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาข้อเสนองบประมาณงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2556 (ตาม ม.39 วรรค 2) 28 ม.ค.2556 สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งขอความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 11 ก.พ.2556 กระทรวงการคลังให้ความเห็น 12 ก.พ.2556 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ให้ความเห็น 26 ก.พ.2556 สำนักงบประมาณ ให้ความเห็น 14 มี.ค.2556 รมว.สธ. ขอถอนเรื่องจาก ครม. เพื่อนำมาพิจารณาทบทวน 25 มี.ค.2556 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีมติทบทวนข้อเสนองบประมาณงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2557 ในส่วนงบกองทุน สปสช.เสนอหนังสือไปยังสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาข้อเสนองบประมาณงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2556 (หลังมีการทบทวน) (ตาม ม.39 วรรค 2) สำนักงบประมาณให้ความเห็น 26 มี.ค.2556 คณะรัฐมนตรีพิจารณาและมีมติ“งบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2557” (ที่เสนอไปตาม ม.39 วรรค 2) 23 เม.ย.2556 คณะรัฐมนตรีพิจารณาและมีมติเห็นชอบ “งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2557” และให้แต่ละกระทรวงพิจารณาปรับปรุงฯ (ตามปฏิทินงบประมาณฯ) 30 เม.ย.2556 คณะรัฐมนตรีพิจารณาและมีมติเห็นชอบ“ปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2557” (ตามปฏิทินงบประมาณฯ)

5 งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี2557-ที่จะได้รับ

6 รายการงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2557-ที่จะได้รับ
ประเภทบริการ ปี 2556 [ได้รับ] ปี [ข้อเสนอ] ปี [จะได้รับ] ผลต่างปี57 > ปี56 บาท % 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 983.49 1,083.17 1,056.96 73.47 7% 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 975.85 1,051.17 1,018.35 42.50 4% 3. เพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99 ปรับไปรายการใหม่ (60.99) -100% 4. บริการกรณีเฉพาะ 262.10 281.02 18.92  7%  5. บริการสร้างเสริมlสุขภาพและป้องกันโรค 313.70 383.61 69.91  22%  6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 12.88 14.95 2.07 16% 7. บริการการแพทย์แผนไทย 7.20 9.26 8.19 0.99 14% 8. ค่าเสื่อม 128.69 - 0% 9. งบส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 (4.76) 10. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม.41) 5.19 3.32 (1.87) -36% 11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ 0.75 0.54 (0.75) รวมข้อ 1-11 2,755.60 2,955.91 2,895.09 139.49 5.1%

7 (ร่าง) สรุปข้อเสนอกรอบวงเงินตามแนวทางบริหารจัดการปี 2557 รายการที่ 1
(ร่าง) สรุปข้อเสนอกรอบวงเงินตามแนวทางบริหารจัดการปี 2557 รายการที่ 1. งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว ประเภทบริการ ปี [จะได้รับ] ปี 2557 [ข้อเสนอขาลง] 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,056.96 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,018.35 1,027.94 3. บริการกรณีเฉพาะ 281.02 271.33 4. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 383.61 5. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 14.95 6. บริการการแพทย์แผนไทย 8.19 7. ค่าเสื่อม 128.69 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม. 41) 3.32 9. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ - 0.10 รวม 2,895.09 นิ่ว

8 รายการที่ไม่รวมในงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ2557
นโยบายค่าแรงของรัฐบาล ค่าครองชีพสำหรับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 15,000 บาทต่อ เดือนและค่าแรงขั้นต่ำที่ 300 บาทต่อวัน ของลูกจ้างชั่วคราว การปรับลูกจ้างชั่วคราวเป็นข้าราชการหรือพนักงานของ กระทรวงสาธารณสุข การปรับบันไดเงินเดือนข้าราชการ (คาดว่าจะดำเนินการในปี 2556)

9 กรอบในการกำหนดแนวทางการบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557

10 กรอบตามกฎหมาย -> ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2545
กรอบและแนวคิดในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและ การบริหารจัดการ ปีงบประมาณ 2557 (1) กรอบตามกฎหมาย -> ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 18(1), 18(4), 18(13) , 38, 41, 46, 47 ตามแนวคิดพื้นฐานของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และพื้นที่ ดำเนินการ ประสิทธิผลและคุณภาพของผลงานบริการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงานหลักประกัน สุขภาพและการบริการสาธารณสุข ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข

11 กรอบตามกฎหมายในการกำหนดแนวทาง การบริหารกองทุน
ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) กำหนดมาตรฐานการให้บริการของหน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการ และกำหนด มาตรการในการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ (๔) กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน (๑๓) จัดประชุมเพื่อให้คณะกรรมการรับฟังความคิดเห็นโดยทั่วไปจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ เป็นประจำทุกปี มาตรา ๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า “กองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ สาธารณสุขของหน่วยบริการ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ให้ใช้จ่ายเงินกองทุนโดยคำนึงถึงการพัฒนาการบริการสาธารณสุขในเขตพื้นที่ที่ไม่มีหน่วยบริการ เพียงพอหรือมีการกระจายหน่วยบริการอย่างไม่เหมาะสมด้วย

12 กรอบตามกฎหมายในการกำหนดแนวทาง การบริหารกองทุน (ต่อ)
มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการกันเงินจำนวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือ เบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของ หน่วยบริการ โดยหาผู้กระทำผิดมิได้หรือหารือผู้กระทำผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลา อันควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด มาตรา ๔๖ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา ๔๔ และหน่วยบริการที่รับส่งต่อผู้รับบริการ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด หลักเกณฑ์การกำหนดค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขตามวรรคหนึ่ง ต้องผ่านการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา ๑๘(๑๓) ก่อน และอย่างน้อยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ อาศัยราคากลางที่เป็นจริงของโรคทุกโรคมาเป็นฐานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร คำนึงถึงความแตกต่างในภารกิจของหน่วยบริการ คำนึงถึงความแตกต่างในกลุ่มผู้รับบริการและในขนาดของพื้นที่บริการที่หน่วยบริการรับผิดชอบ

13 กรอบตามกฎหมายในการกำหนดแนวทาง การบริหารกองทุน (ต่อ)
มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วน ร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้ คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน

14 รายการค่าใช้จ่ายที่ใช้ตามกรอบกฎหมาย
แนวทางการบริหารกองทุนตามกรอบกฎหมาย (1) ตามพ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 รายการค่าใช้จ่ายที่ใช้ตามกรอบกฎหมาย ม.18(1) กำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ และกำหนดมาตรการในการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ ม.18(4) เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้เพื่อการชดเชยผู้ให้บริการ ม.18(13) จัดประชุมเพื่อให้คณะกรรมการรับฟังความคิดเห็นโดยทั่วไปจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการเป็นประจำทุกปี ม.38 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ รายการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ม.41 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการตามมาตรา 41 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ ม.46(1) อาศัยราคากลางที่เป็นจริงของโรคทุกโรคมาเป็นมาตรฐานตามข้อเสนอแนะของ คกก. ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรา 50(4) บริการผู้ป่วยในทั่วไป ได้แก่ การใช้ระบบ DRG บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง /อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/ บริการเฉพาะโรค) บริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อข้ามจังหวัด บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ) ม.46(2) ครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป บริการผู้ป่วยในทั่วไป บริการกรณีเฉพาะบางรายการย่อย และบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จะเป็นอัตราที่รวมค่าแรงเกือบทั้งหมดทุกประเภท (ยกเว้นค่าตอบแทนบางรายการที่กระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณจากรัฐบาลโดยตรง) กรณีการจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการภาครัฐ จึงต้องมีการปรับลดค่าแรงในส่วนเงินเดือน เนื่องจากรัฐบาลได้จ่ายเงินเดือนแล้ว

15 รายการค่าใช้จ่ายที่ใช้ตามกรอบกฎหมาย
แนวทางการบริหารกองทุนตามกรอบกฎหมาย (2) ตามพ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 รายการค่าใช้จ่ายที่ใช้ตามกรอบกฎหมาย ม.46(3) คำนึงถึงความแตกต่างในภารกิจของหน่วยบริการ บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง /อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/ บริการเฉพาะโรค) ซึ่งจะมีเงื่อนไขบริการสำหรับหน่วยบริการเฉพาะทาง หน่วยบริการรับส่งต่อ เป็นต้น ค่าเสื่อม การจัดเครือข่ายบริการโรคที่มีอัตราการตายสูง งบจ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บริการแพทย์แผนไทย บริการผู้ป่วยไตวาย (กำหนดหน่วยบริการที่ต้องมีมาตรฐานเฉพาะด้าน เป็นต้น) ม.46(4) คำนึงถึงความแตกต่างในกลุ่มผู้รับบริการและในขนาดของพื้นที่บริการที่หน่วยบริการรับผิดชอบ งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง (สำหรับหน่วยบริการในพื้นที่ hardship, หน่วยบริการขนาดเล็ก) บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป (การ diff cap ตามโครงสร้างอายุประชากร) บริการฟื้นฟูสมรรถด้านการแพทย์ (กำหนดให้คนพิการ สามารถเข้ารับการรักษาที่สถานบริการของรัฐได้ทุกแห่ง) งบบริการผู้ติดเชื้อHIV และผู้ป่วยเอดส์ ผู้ติดเชื้อสามารถรับยา ARV ที่ไหนก็ได้ การชดเชยสำหรับประชากรที่มีลักษณะพิเศษต่างกัน ได้แก่ บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง, บริการควบคุมป้องกันและรักษาโรคเรื้อรังสำหรับผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.47 โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชากรในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่) บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด)

16 สรุปกรอบและแนวคิดในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ ปีงบประมาณ 2557
ประเภทบริการ กรอบตามกฎหมาย กรอบตามแนวคิด UHC 1. งบบริการทางการแพทย์อัตราเหมาจ่ายรายหัว 1.1 บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ม.46 (1), (2) , (3), (4) 1)ตาม Health need 2)ประสิทธิผลและคุณภาพผลงานบริการ 1.2 บริการผู้ป่วยในทั่วไป ม.46 (1) 4) ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่าย 1.3 บริการกรณีเฉพาะ 1.4 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ม.46 (2) , (3), (4) และ ม.47 1) Health need 2) ประสิทธิผลและคุณภาพผลงานบริการ 3) การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4)ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่าย 1.5 บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ม.46 (2) , (4) และ ม.47 1.6 บริการการแพทย์แผนไทย ม.46 (2) , (3) และ ม.47 1.7 ค่าเสื่อม ม.46 (3) 1.8 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม.41) ม.41 1.9 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ ม.18 (4) 2. ค่าบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ม.46 (4) และ ม.47 3. ค่าบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ม.46 (2) , (3), (4) 4. ค่าบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคเรื้อรัง สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ม.46 (4) 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) ม.46 (2), (4) 6. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) ม.46 (2)

17 หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557

18 หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557
จำนวน 6 รายการ ตามที่ได้รับงบประมาณ บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว บริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ บริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง (บริการ 2nd prevention สำหรับ ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการ ในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวง สาธารณสุข)

19 บริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายรายหัว

20 รายการงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2557
ประเภทบริการ ปี [จะได้รับ] ปี 2557 [ข้อเสนอขาลง] 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,056.96 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,018.35 1,027.94 3. บริการกรณีเฉพาะ 281.02 271.33 4. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 383.61 5. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทยื 14.95 6. บริการการแพทย์แผนไทย 8.19 7. ค่าเสื่อม 128.69 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม.41) 3.32 9. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ - 0.10 รวม 2,895.09

21 1.1 บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป

22 1.1 กรอบแนวทางการบริหารงบ OP-ทั่วไปปี 2557
แนวทางการบริหารจัดการ จำนวน 1, บาทต่อผู้มีสิทธิ การบริหารจัดการแบ่งเป็น 3 รายการย่อย ได้แก่ ปี 2556 ปี 2557 (1) จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ (928.40) (1) จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ (1,001.87) (2) จ่ายตามผลงานบริการ (18.09) (3) จ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ (37) (3) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (37) หากจ่ายตามเงื่อนไขในปีแล้วมีเงินเหลือ ให้จ่ายให้หน่วยบริการสำหรับบริการผู้ป่วยนอก ตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนและผลงานบริการผู้ป่วยนอก ข้อ (1) และ (2) สำหรับ สปสช.เขต13 – กรุงเทพมหานคร ให้สามารถกำหนดแนวทางเป็นอย่างอื่นได้ แต่ อย่างน้อยต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและได้ข้อมูลตามที่กำหนดและต้องเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการผู้ป่วยนอก โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นของของ อปสข.

23 1.1 กรอบแนวทางการบริหารงบ OP-ทั่วไปปี 2557 (1) จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ
(1.1) จำนวน 1, บาทต่อผู้มีสิทธิ จ่ายตามจำนวนประชากรที่ ลงทะเบียน โดยประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ปี 2556 ปี 2557 1.1) จำนวน บาทต่อผู้มีสิทธิ ให้มีการปรับอัตราจ่าย (diff. capitation) ตามโครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนหน่วยบริการประจำ โดย หน่วยบริการสังกัด สป.สธ.ปรับที่ระดับจังหวัด และให้ปรับค่าความต่างของอัตราต่อหัวแต่ละจังหวัดให้ต่างจากค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ± 10% หน่วยบริการอื่นๆ ปรับที่ระดับ CUP และให้ปรับค่าความต่างของอัตราต่อหัวแต่ละ CUP ให้ต่างจากค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ± 10% 1.1) จำนวน บาทต่อผู้มีสิทธิ ให้มีการปรับอัตราจ่าย (diff. capitation) ตามโครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนหน่วยบริการประจำ โดยเป็นการปรับที่ระดับจังหวัดและให้ปรับค่าความต่างของอัตราต่อหัวแต่ละจังหวัดให้ต่างจากค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ± 10% 1.2) จำนวน บาทต่อผู้มีสิทธิ ให้จ่ายในอัตราเท่ากัน

24 1.1 กรอบแนวทางการบริหารงบ OP-ทั่วไปปี 2557 (1) จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ (ต่อ)
(1.2) สำหรับ สปสช.เขต13 – กรุงเทพมหานคร ให้สามารถกำหนดแนวทางเป็น อย่างอื่นได้ แต่อย่างน้อยต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและได้ข้อมูลตามที่ กำหนดและต้องเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการผู้ป่วย นอก โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นของของ อปสข. (1.3) สำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. อาจต้องเกลี่ยงบที่ได้รับไปสนับสนุน หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย(พื้นที่ Hardship) (1.4) ให้ สปสช.สนับสนุนการจัดการเกี่ยวกับบริการ OP ส่งต่อในจังหวัด

25 1.1 กรอบแนวทางการบริหารงบ OP-ทั่วไปปี 2557 (2) จ่ายตามผลงานบริการ
แนวทางการบริหารเหมือนปี 2556 โดยปรับบางส่วนให้ชัดเจนขึ้น ได้แก่ (2.1) จำนวนเงิน บาทต่อผู้มีสิทธิ แบ่งเป็น 2 ส่วน (ตามสัดส่วนปี 2556) คือ ไม่น้อยกว่า บาทต่อผู้มีสิทธิ ให้จ่ายตามจำนวนผลงานและตาม คุณภาพของการให้บริการ โดยใช้ข้อมูล OP/PP individual records ไม่เกิน 0.81 บาทต่อผู้มีสิทธิ สำหรับการสนับสนุนและส่งเสริมการ จัดทำข้อมูลผู้รับบริการ และจ่ายสำหรับข้อมูลด้านการเงินการคลังของ หน่วยบริการ (2.2) สำหรับ สปสช.เขต 13 – กรุงเทพมหานคร ให้สามารถกำหนดแนวทางเป็น อย่างอื่นได้ แต่อย่างน้อยต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและได้ข้อมูลตามที่กำหนด และต้องเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการผู้ป่วยนอก โดย แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นของ อปสข.

26 1.1 กรอบแนวทางการบริหารงบ OP-ทั่วไปปี 2557 3) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (ต่อ)
จำนวน 37 บาทต่อผู้มีสิทธิ แนวทางการบริหารจัดการเน้นให้เกิดคุณภาพบริการ ปฐมภูมิมากขึ้น และกระตุ้นการบริหารเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ(District Health System) ให้เข้มแข็ง รวมทั้งพัฒนาความร่วมมือภาครัฐ-เอกชน หรือ กิจกรรมเพื่อสังคม (Social enterprise) ในการจัดบริการปฐมภูมิ โดยปี การบริหารจัดการแบ่งเป็น 2 ส่วน ปี 2556 ปี 2557 1) จ่ายตามเกณฑ์ศักยภาพมาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ (30) 1) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (32) 2) งบเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ (7) 2) งบเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ (5)

27 ส่วนที่ 1) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (32 บาทต่อผู้มีสิทธิ )
กำหนด Quality and Outcome Framework (QOF) ของบริการปฐมภูมิ เพื่อเป็นทิศทาง วัดผลการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย 4 ด้าน ด้านบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ด้านบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ ด้านบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ บริหารจัดการเป็น global budget ระดับเขต ตามจำนวนประชากร UC ให้บูรณาการงบประมาณรายการนี้กับงบ P&P ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ P&P มีเกณฑ์ตัวชี้วัดกลาง และสามารถเพิ่มเติมเกณฑ์ระดับพื้นที่ได้ โดยเป็นข้อเสนอจาก คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต และต้องผ่านความเห็นชอบของ อปสข. แนวทางการจ่ายเงินให้แก่หน่วยบริการ (CUP) ต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. สำหรับการจ่ายเงินให้หน่วยบริการปฐมภูมิในแต่ละ CUP ให้จัดสรรโดยคณะกรรมการ พัฒนาเครือข่ายระบบบริการระดับอำเภอ ( DHS: District health system)

28 (ร่าง)ตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (ตัวชี้วัดกลาง) (Quality and Outcome Framework :QOF) ปี2577 ตัวชี้วัดด้านที่ 1: คุณภาพและผลงานการจัดบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เช่น 1.1 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 ต่อผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกทั้งหมด ตัวชี้วัดด้านที่ 2: คุณภาพและผลงานการจัดบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์บริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ เช่น 2.1 สัดส่วน OP ปฐมภูมิ /รพ. (วัดระดับ PCU) 2.2 อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลจากโรคหืด (วัดระดับPCU) 2.3 อัตราการรับเข้ารพ.จากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน (วัดระดับ PCU) 2.4 อัตราการรับเข้ารพ.จากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของ HT (วัดระดับ PCU) ตัวชี้วัดด้านที่ 3: คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ เช่น 3.1 ร้อยละครอบครัวมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจดูแล(วัดระดับ PCU) 3.2 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน (วัดระดับCUP) ตัวชี้วัดด้านที่ 4: คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ คณะกรรมการฯระดับเขตและจังหวัด ร่วมพิจารณาเกณฑ์ระดับพื้นที่ QOF หมายเหตุ : คัดเลือกจากตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข และ Smart health และจะมีการหารือร่วมกับสธ.ต่อไป

29 แผนการบริหารการบูรณาการงบกองทุน โดยใช้เกณฑ์คุณภาพและผลงาน (QOF) บริการปฐมภูมิ
งบตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ งบ P&P จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ P&P - งบบริการการแพทย์แผนไทย - งบบริการฟื้นฟูระดับชุมชน(CBR) - งานบริการโรคเรื้อรังระดับชุมชน ปี ปี ปี ตัวชี้วัดด้านที่ 1: คุณภาพและผลงานการจัดบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตัวชี้วัดด้านที่ 2: คุณภาพและผลงานการจัดบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์บริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ตัวชี้วัดด้านที่ 3: คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ ตัวชี้วัดด้านที่ 4: คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ QOF

30 จำนวน 1 บาทต่อผู้มีสิทธิ บริหารจัดการภาพรวม ระดับประเทศ
ส่วนที่ 2) งบเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ (5 บาทต่อผู้มีสิทธิ) เป็นงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ โดยสนับสนุน ดำเนินการตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก ค.ศ (six building blocks primary health care system strengthening ) โดย จำนวน 1 บาทต่อผู้มีสิทธิ บริหารจัดการภาพรวม ระดับประเทศ จำนวน 4 บาทต่อผู้มีสิทธิ บริหารจัดการเป็นวงเงินระดับเขต ตามจำนวนประชากร UC

31 แนวทางการบริหาร งบเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ
เป็นงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิให้มีศักยภาพ และมีคุณภาพตามแนวคิดเวชศาสตร์ ครอบครัว เพื่อการเข้าถึงบริการของประชาชน และตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพของประชาชนตามบริบท ของพื้นที่ แนวทางสนับสนุนตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก ค.ศ (six building blocks primary health care system strengthening ) ได้แก่ สนับสนุนความเข้มแข็งเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System :DHS) สนับสนุนรูปแบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง และพื้นที่พิเศษเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตามบริบท สนับสนุนการผลิต จัดหา และกำลังคนที่จำเป็นและขาดแคลนตามบริบทพื้นที่(มาตรา 38วรรค 2) สนับสนุนการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และการตรวจสอบผลงานและคุณภาพหน่วยบริการ สนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงบริการด้านยา วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่จำเป็นในพื้นที่ ส่งเสริมนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และ อปท. สนับสนุนกลไกการพัฒนาระบบคุณภาพบริการปฐมภูมิ (PCA) เป็นงบที่จัดสรรให้หน่วยบริการ สปสช.สาขาจังหวัด หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการ ดำเนินงานของ สปสช./สปสช.เขต การดำเนินงานสามารถบูรณาการกับงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการของบริการอื่นๆ ในพื้นที่ (จังหวัด) เช่น P&Pทั่วไป ทันตกรรม และบริการแพทย์แผนไทยได้ ดำเนินงานโดยความร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข องค์กรวิชาชีพ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง

32 1.2 บริการผู้ป่วยในทั่วไป

33 1.2 กรอบแนวทางบริหารงบ IP-ทั่วไปปี 2557 (1)
แนวทางบริหารจัดการส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยมีการ ปรับบางส่วนดังนี้ จำนวนงบบริการผู้ป่วยในทั่วไปปี 2557 ให้เกลี่ยงบจำนวน 0.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ ไปเป็นรายการย่อย “เงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ” (เนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2557) ให้รวมบริการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วเพื่อนำนิ่วออกจากระบบทางเดิน ปัสสาวะ โดยตัดงบจากรายการบริการกรณีเฉพาะจำนวน บาท ต่อผู้มีสิทธิ มารวมไว้ที่รายการผู้ป่วยในทั่วไป ทำให้งบบริการผู้ป่วยใน รวมเป็น 1, บาทต่อผู้มีสิทธิ งบบริการผู้ป่วยในทั่วไป = 1, =1, บาทต่อผู้มีสิทธิ

34 1.2 กรอบแนวทางบริหารงบ IP-ทั่วไปปี 2557 (2)
บริหารเป็น global budget (GB) ที่ระดับเขต โดย 2.1) กรณีการใช้บริการตามระบบศูนย์ประสานการส่งต่อ (กรณีสำรองเตียง) กรณีการ เข้ารับบริการผู้ป่วยในตามมาตรา 7 (กรณีที่มีเหตุอันสมควร หรือกรณีอื่น ๆ ตามที่ระบุในข้อบังคับมาตรา 7 ที่มีการใช้บริการจากหน่วยบริการในระบบและ นอกระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) และกรณีบริการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วเพื่อ นำนิ่วออกจากระบบทางเดินปัสสาวะ ให้ใช้ค่าผลรวมของน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับ ค่าแล้ว (Adjusted relative weight : adjRW) ที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นใน ปีงบประมาณ 2557 2.2) ผู้ป่วยในทั่วไปอื่นๆ ให้คำนวณ GB โดย 55% ตาม workload และ 45% ตาม โครงสร้างอายุ (เหมือนปี 2556) 2.3) ให้คำนวณกำหนดเป็นวงเงินแต่ละเขตประจำปีตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณ โดย ใช้ข้อมูลผลการให้บริการที่เกิดขึ้นและจำนวนประชากรสิทธิที่เป็นปัจจุบัน

35 2. กรอบแนวทางบริหารงบ IP-ทั่วไปปี 2557 (3)
การจ่ายชดเชยให้หน่วยบริการ 3.1) ให้กันเงินเพื่อตามจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการได้ไม่เกิน 20 บาทต่อ ผู้มีสิทธิ โดยให้ อปสข. พิจารณาแนวทางการจ่ายตามข้อเสนอของ สปสช. เขต และที่เหลือให้จ่ายด้วยระบบ DRGs version 5 3.2) การจ่ายตามระบบ DRGs ให้จ่ายตามการใช้บริการที่เกิดขึ้น ภายใต้เพดาน global budget ระดับเขตของแต่ละเขต อัตราการจ่าย ส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยกรณีบริการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่ว เพื่อนำนิ่วออกจากระบบทางเดินปัสสาวะแบบผ่าตัด/แบบส่องกล้องให้ใช้ ระบบ DRG สำหรับรักษาด้วยเครื่องสลายนิ่วให้เป็นจ่ายด้วยราคากลางตาม เงื่อนไขบริการและอัตราที่ สปสช.กำหนด

36 1.2 กรอบแนวทางบริหารงบ IP-ทั่วไปปี 2557 (4)
การบริหารการจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ 5.1) ให้ สปสช.เขต สามารถกำหนดอัตราจ่ายต่อ adjRW เบื้องต้นที่อัตราหนึ่ง โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. 5.2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเงินกองทุน ให้ปิด global budget ระดับเขต ภายใน 30 กันยายน (ปิด GB ของปี 2557) โดย ให้ใช้ข้อมูลผลงานบริการผู้ป่วยใน (sum adjRW) ปี 2557 จำนวน 10 เดือน (กค.56-สค.57) และ อาจใช้ข้อมูลของปีที่ผ่านมาร่วมด้วยก็ได้ในประมาณการเป็น 12 เดือน เป็นฐานในการคำนวณอัตรา จ่ายในการปิด GB สำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. เพื่อให้การจ่ายผลงานประจำปี 2557 สนับสนุนสภาพคล่องของ หน่วยบริการ จึงขอใช้ผลการประมาณการบริการผู้ป่วยใน 12 เดือนตามข้อ (1) เป็นผลงานประจำปี สำหรับจ่ายเงิน GB ระดับเขต กรณีการจ่ายตามข้อ (1) – (2) แล้ว หากมีเหตุใดๆ ที่ทำให้มีรายจ่ายเพิ่มเติมภายหลัง ให้หักงบ จาก GB ระดับเขตของปีถัดไป หรือหากมีเงินเหลือ ให้ อปสข. พิจารณาจัดสรรส่วนที่เหลือให้ หน่วยบริการเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขต่างๆ ได้ กรณีข้อมูลการใช้บริการในปีงบประมาณ 2557 ที่หน่วยบริการส่งภายหลังจากปิด Global budget ของปี 2557 แล้ว หน่วยบริการจะได้รับค่าใช้จ่ายจาก Global budget ระดับเขตของปีถัดไป

37 1.3 บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง/ อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/ บริการโรคเฉพาะ)

38 1.3 กรอบแนวทางบริหารงบบริการกรณีเฉพาะปี 2557 (1)
1. บริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง (HC) 2. บริการอุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน (AE,PUC) 1.1 ยาจำเป็นและยาที่มีปัญหาการเข้าถึง 1) OP-AE ข้ามจังหวัด 1) Thalassemia 2) OP-refer ข้ามจังหวัด 2) Hemophilia 3) ค่าพาหนะรับส่งต่อระหว่างหน่วยบริการ 3) STEMI (ST evaluated MI) 4) เด็กแรกเกิดทุกราย 4) Stroke 5) กรณีผู้ป่วยใน กรณีค่าว่างและผู้ประกันตนที่ยังไม่ได้สิทธิ 5) Methadone maintenance therapy 6) OI [Crpyto/CMV]-OP/IP 3. บริการกลุ่มโรคที่มีปัญหาการเข้าถึง 7) ยา จ.2 และยาจำเป็นอื่นๆ 1) Asthma & COPD 1.2 หัตถการและวินิจฉัยที่มีปัญหาการเข้าถึง 2) Tuberculosis 1) Instrument-OP&IP 3) Leukemia & Lymphoma [รายใหม่] 2) Chemo/Radia-OP 4) Cataract [all] รวมเลนส์ 3) Dialysis สำหรับ acute case-OP/IP 5) Laser project for diabetic retinopathy 5) NONI 6) นิ่ว (ย้ายไปรวมกับบริการผู้ป่วยในทั่วไป) 6) ทันตกรรมจัดฟันและฝึกพูดสำหรับผู้ป่วยผ่าตัด ปากแห่วงเพดาโหว่ 7) การดูแลแบบประคับประคอง (Morphine ในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน) 8) การปลูกถ่ายอวัยวะ - ปลูกถ่ายตับในเด็กกรณีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด (อายุไม่เกิน 18 ปี) - ปลูกถ่ายหัวใจ - ปลูกถ่ายไขกระดูก - จัดหาดวงตาสำหรับ cornel transplant

39 1.3 กรอบแนวทางบริหารงบบริการกรณีเฉพาะปี 2557 (2)
แนวทางบริหารจัดการส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยมีการ ปรับบางส่วนดังนี้ ย้ายบริการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วเพื่อนำนิ่วออกจากระบบทางเดิน ปัสสาวะ ไปบริหารจัดการรวมกับงบบริการผู้ป่วยในทั่วไป (9.69) ให้เกลี่ยงบระหว่างบริการกรณีเฉพาะต่างๆ ของงบรายการนี้ได้ หาก “งบรายการบริการกรณีเฉพาะ” เหลือหลังจากที่จ่ายตาม เงื่อนไขในปีแล้ว ให้จ่ายให้หน่วยบริการสำหรับบริการผู้ป่วยนอกและ ผู้ป่วยในตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนและผลงานบริการผู้ป่วย ใน

40 1.4 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

41 กรอบแนวทางบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
(1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health Services (66.38 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (7.50 บ./คน) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ P&P Capitation ( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) คำนวณจาก บาท/ปชก.UC ล้านคน P&P Dental (10 บ./คน) หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (45.00 บ./คน) Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) จังหวัด/เขต (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) สำหรับ สปสช.เขต13 – กรุงเทพมหานคร ให้สามารถบูรณการการบริหารจัดการงบส่วนที่ (2) และ (3) และกำหนดแนวทางเป็นอย่างอื่นได้ แต่ต้องเป็นค่าใช้จ่ายบริการ P&P เพื่อให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ตามที่กำหนด และได้ข้อมูลตามที่กำหนด โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นของของ อปสข. หากจ่ายตามเงื่อนไขในปีแล้วมีเงินเหลือ ให้จ่ายให้หน่วยบริการสำหรับบริการ P&P ตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนและผลงานบริการ P&P

42 กรอบแนวทางบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 (1)
แนวทางบริหารจัดการส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยมีการปรับบางส่วนดังนี้ สำหรับบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) รายบุคคลและครอบครัว โดย งบประมาณจำนวน บาทต่อคนไทยทุกคน (บาทต่อคน) แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้ P&P ที่บริหารระดับประเทศ (NPP & Central procurement ) P&P สำหรับบริการระดับพื้นที่ (P&P area health services) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน (P&P basic services) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P หน่วย : บาทต่อคนไทยทุกคน รายการย่อย ปี2556 ปี2557 1. NPP & Central procurement 25.72 23 2. PP Area health services 2.1 กองทุนตำบล 40 45 2.2 PPA เขต +จังหวัด 17.4 21.38 3. บริการ PP basic services 3.1 General activity (ปี 2557 รวมบริการทันตกรรมส่งเสริม) 99.96 172 3.2 Quality performance 25 20 4. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 7.68 7.5 5. บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน (ไม่รวมเงินเดือน) 16.6 รวมในข้อ 3 รวม 232.36 288.88

43 กรอบแนวทางบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 (2)
หากจ่ายตามเงื่อนไขในปีแล้วมีเงินเหลือ ให้จ่ายให้หน่วยบริการ สำหรับบริการ P&P ตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนและผลงาน บริการ P&P

44 จำนวน 23 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ
กรอบแนวทางบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ จำนวน 23 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ (1.1) Central Procurement (19.15 บาทต่อคน) ค่าวัคซีน EPI ค่าวัคซีน & การจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (เพิ่มกลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่ม ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ที่ อายุครรภ์มากกว่า 4 เดือนขึ้นไป เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี) ค่าจัดพิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพมารดาทารก สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน (1.2) National priority Programs (3.85 ต่อคน) ค่าบริการ/ค่าสนับสนุนบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นนโยบายและ ความสำคัญระดับชาติ

45 จำนวน 66.38 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ
กรอบแนวทางบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (2) P&P สำหรับระดับพื้นที่ จำนวน บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ (2.1) กองทุน ท้องถิ่นฯ (45 บาท ต่อคน) บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ดำเนินการในชุมชน ในรูปแบบ ความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามประกาศของคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยจัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ไม่น้อยกว่า 40 บาทต่อคน จ่ายตามจำนวนคนไทยในพื้นที่รับผิดชอบ ไม่เกิน 5 บาทต่อคนไทย จ่ายเพิ่มเติมกรณีที่กองทุนฯ สามารถดำเนินงาน หรือมีคุณสมบัติตามที่กำหนด (2.2) บริการสร้าง เสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคระดับ พื้นที่ (21.38 บาท ต่อคน) เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหา เฉพาะพื้นที่หรือตามนโยบายสำคัญ บริการที่ต้องบริหารจัดการในภาพรวม ระดับเขต/จังหวัดรวมถึงการจ่ายค่าบริการแทนหน่วยบริการ จ่ายเพื่อจูงใจให้ เกิดการบริการที่เพิ่มความครอบคลุมและคุณภาพผลงานบริการ และจ่ายให้ องค์กรเอกชน/ภาคประชาชนเพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยตรงแก่ประชาชน จัดสรร เงินเป็น global budget ระดับเขตและแนวทางการจ่ายต้องผ่านความ เห็นชอบจาก อปสข.

46 จำนวน 192 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ
กรอบแนวทางบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน จำนวน 192 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ (3.1) งบจ่ายตาม จำนวนประชากรและ ผลงาน (162 บาทต่อคน) จัดสรรแก่หน่วยบริการตามจำนวนประชากรทุกสิทธิและปริมาณผลงาน ตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยคำนวณเป็นรายหน่วยบริการประจำและ ภาพรวมจังหวัด และให้คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพสาขา จังหวัด (อปสจ.) ปรับเกลี่ยและแจ้ง สปสช. จ่ายโดยตรงให้หน่วย บริการประจำโดยมีการปรับลดค่าแรง (หักเงินเดือน) (3.2) งบทันตกรรม ส่งเสริมป้องกัน (10 บาทต่อคน) จัดสรรแก่หน่วยบริการตามจำนวนประชากรทุกสิทธิ และให้ คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพสาขาจังหวัด (อปสจ.) ปรับเกลี่ย และแจ้ง สปสช. จ่ายโดยตรงให้หน่วยบริการประจำ (3.3) งบจ่ายตาม เกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการ (20 บาทต่อคน) จัดสรรแก่หน่วยบริการตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ บริหารจัดการ ระดับเขต โดยบูรณาการร่วมกับงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงาน บริการปฐมภูมิ

47 กรอบแนวทางบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (4)สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P)
จำนวน 7.50 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ การกำกับติดตามและประเมินผล การพัฒนาระบบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ (พัฒนาระบบ กลไกการ บริหารจัดการ/การบริการ ศักยภาพบุคลากร ระบบข้อมูลสารสนเทศ) พัฒนาศักยภาพองค์กรเอกชน/ภาคประชาชน และระบบสุขภาพชุมชน แนวทางบริหารจัดการ ไม่น้อยกว่า 6 บาทต่อคน บริหารจัดการเป็น global budget ระดับเขต โดย สปสช.เขต ส่วนที่เหลือบริหารจัดการระดับประเทศโดย สปสช.

48 ตัวชี้วัดบริการ P&P จากงบบริการ P&P ของกองทุนปี 2557
ยึดตัวชี้วัดบริการพื้นฐาน 20 ตัวและแผนงานส่งเสริมป้องกันตามกลุ่ม วัย (8 Flagships) ของกระทรวงสาธารณสุขเป็นหลัก แต่จะมีการหารือ เพื่อกำหนดตัวชี้วัดบริการ P&P เท่าที่จำเป็น โดย เลือกเฉพาะที่สะท้อนผลบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัว เพิ่มเติมให้ครบถ้วน สำหรับบางบริการ P&P รายบุคคลและ ครอบครัว จะเสนอคณะอนุกรรมการส่งเสริมและป้องกันโรคพิจารณาต่อไป ตัวอย่างข้อเสนอตัวชี้วัดที่จะปรับปรุง

49 1.5 บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์

50 กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557
เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาทต่อผู้มีสิทธิ) สำหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการ ตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ ความรู้ สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ

51 กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557 (1)
ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการได้รับการดูแลอย่างครบวงจร วัตถุประสงค์ คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่เหมาะสม พร้อมทั้งการฝึกใช้อุปกรณ์เฉพาะราย เป้าหมาย จำนวนคนพิการได้รับบริการฟื้นฟูฯ และได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการเพิ่มขึ้น 10% จากปี 2556 หน่วยบริการระดับ รพชุ. ขึ้นไป มีระบบการให้บริการฟื้นฟู 700 แห่ง มีการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัดอย่างน้อย 36 จังหวัด องค์กรคนพิการ/บุคลากร ได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟูฯ อย่างน้อย 3 ประเภทความพิการต่อเขต สนับสนุนและส่งเสริมให้มีกำลังคนด้านการฟื้นฟูฯ (PT ใน รพช. 90% OT ใน รพศ./รพท./ รพช. อย่างน้อย 30%) เกิดบริการฟื้นฟูรูปแบบใหม่ระหว่างหน่วยบริการร่วมกับองค์กรคนพิการอย่างน้อย 1 รูปแบบ มีการพัฒนารูปแบบบริการด้านฟื้นฟูฯ ร่วมกับกองทุน อบต.เทศบาล/หรือองค์กรคนพิการที่เป็นต้นแบบได้อย่างน้อย 12 แห่ง

52 เป้าหมายตัวชี้วัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557
เป้าหมายตัวชี้วัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 ตัวชี้วัด (KPI) เป้าหมายปี2556 เป้าหมายปี2557 1. ร้อยละของการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง 80% 90% 2. ร้อยละสะสมของคนพิการทางการเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M 60% 3. จำนวนกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด 24 จังหวัด (อย่างน้อยเขตละ 2 จังหวัด ยกเว้น กทม.) 36 จังหวัด (อย่างน้อยเขตละ 3 จังหวัด ยกเว้น กทม.) 4. องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟูอย่างน้อย 3 ประเภทความพิการ/เขต ทุกเขต

53 1.6 บริการการแพทย์แผนไทย

54 1.6 กรอบแนวทางบริหารงบบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2557
(8.19 บาทต่อผู้มีสิทธิ ) งบค่าบริการเพิ่มเติม (ไม่น้อยกว่า 7.62 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 0.57 บาทต่อผู้มีสิทธิ) จ่ายเพิ่มเติมให้หน่วยบริการๆ ละไม่เกิน 1 แสนบาท ที่จัดบริการเวชกรรมไทย/ นวด อบ ประคบ /การใช้ยาสมุนไพร ตามเกณฑ์ที่กำหนด จัดให้มีคลินิกเวชกรรมไทยโดยนักการแพทย์แผนไทยคู่ขนานกับการแพทย์แผนปัจจุบัน มีผลงานการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ ผ่านตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการแพทย์แผนไทย จ่ายเพิ่มเติมให้จังหวัดต้นแบบนำร่อง 4 จังหวัดๆละไม่เกิน 4 ล้านบาท ต่อเนื่อง 2 ปี (ปี ) จัดสรรให้จังหวัดเพื่อสนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. ตามโครงการนำร่องของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ จำนวน 225 คนๆ ละไม่เกิน 1.8 แสนบาทต่อปี จัดสรรงบเป็น Global budget ระดับเขต ตามจำนวนผู้มีสิทธิและผลงานที่ผ่านมา เพื่อจากตามผลงานบริการ ส่วนกลางกำหนดเกณฑ์กลาง เป้าหมาย กติกา /เขตกำหนดเกณฑ์เพิ่มเติม และแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบของ อปสข. สนับสนุนเขตในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยในพื้นที่ 13 เขต สนับสนุน สปสช.ส่วนกลาง เพื่อพัฒนาระบบบริการฯ โดยร่วมมือกับสธ. สถาบันทางวิชาการ องค์กรเอกชน รวมทั้งพัฒนาข้อมูล การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน งบทั้งหมด บาท/ปชก. : ส่วนที่ 1 = 6.79 บาท (82.9%) ส่วนที่ 2 = 1.4 บาท (17.1%) จัดสรรดังนี้ ข้อ 1 = 225 คน X 180,000 บาท = 40,500,000 ข้อ 2 จัดสรรไว้ส่วนกลาง 2 ลบ. และ สปสช.เขต 2 ลบ. x 13 เขต = 26 ลบ. รวม=28 ลบ. รวมงบส่วนที่ 2 = 68.5 ลบ.

55 1.6 กรอบแนวทางการบริหารงบบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2557
ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขด้วยการใช้บริการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีบริการแพทย์แผนไทยที่มีคุณภาพและปลอดภัยคู่ขนานไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อให้มีการใช้ยาจากสมุนไพรที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพิ่มขึ้น จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการ certify ระดับ CUP ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน มาตรการ ส่งเสริมให้มีบริการเวชกรรมแผนไทยโดยนักการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการประจำ ส่งเสริมให้มีการทำหัตถการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาในหน่วยบริการและบริการเชิงรุกในชุมชน รวมถึงการทำหัตถการเพื่อฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด ส่งเสริมให้หน่วยบริการประจำและเครือข่ายใช้ยาจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น รวมถึงการใช้ยาจากสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบันในบางรายการที่ทดแทนกันได้ สนับสนุนและร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข สถาบันทางวิชาการ องค์กรเอกชนในการพัฒนาบริการแพทย์แผนไทย สนับสนุนกลไกบริหารจัดการระดับจังหวัดในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยอย่างครบวงจร พัฒนาข้อมูล การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

56 เป้าหมายตัวชี้วัดบริการแพทย์แผนไทย ปี 2557
เป้าหมายปี 2557 1.จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการ certify ระดับหน่วยบริการประจำ (ผลงานปี 55 = 331 แห่ง) 590 แห่ง 2.ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพิ่มขึ้น (ผลงานปี 55 = 3,607,259 คน) ร้อยละ 20 3.ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐานเน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ (ผลงานปี 55= 44.66%) ร้อยละ 70 4.ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 16

57 1.7 งบค่าเสื่อม

58 1.7 กรอบแนวทางบริหารงบค่าเสื่อมปี 2557
ข้อเสนอที่ปรับปรุงหลังจากรับข้อคิดเห็นจากคณะอนุกรรมการฯ งบค่าเสื่อม ( บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม OP (55.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม IP (53.59 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม PP (20 บาทต่อผู้มีสิทธิ) หน่วยบริการ หลังคำนวณเงินค่าเสื่อมของหน่วยบริการแล้ว ให้กันได้ไม่เกินร้อยละ 20 สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เพื่อส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดการส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ โดยแนวทางการจ่ายให้ผ่านความเห็นชอบจากคณุอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิ ตามสัดส่วนอัตราต่อผู้มีสิทธิของงบ OP-PP-IP ตามจำนวนผลบริการ IP (sum adjRW) ของหน่วยบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จ่ายตรงให้หน่วยบริการ

59 1. 8 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม. 41) 1
1.8 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม.41) 1.9 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ ตัดงบจากบริการผู้ป่วยใน จำนวน 0.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ มาให้ รายการ “เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ” ในปี (เหมือนปี 2556) แนวทางบริหารจัดการเหมือนปี 2556 และปรับอัตราจ่ายตาม มติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

60 1.10 การปรับลดค่าแรง สำหรับหน่วยบริการภาครัฐฯ

61 หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ปรับลดจำนวน 60% ของจำนวนเงินเดือนหน่วยบริการ
จำนวนเงินเดือนหน่วยบริการภาครัฐ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ที่ได้รับแจ้งจากสำนักงานประมาณ สำนักงบประมาณใช้หลักการปรับลดค่าแรง (เงินเดือน) ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามเงื่อนไขเดิม คือ หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ปรับลดจำนวน 60% ของจำนวนเงินเดือนหน่วยบริการ หน่วยบริการ UHOSNET 8 แห่ง ปรับลด 17.52% ของอัตราเหมาจ่ายรายหัวรวม หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่นๆ ปรับลด 24.58% ของอัตราเหมาจ่ายรายหัวรวม ทั้งนี้ในการจัดทำข้อเสนอของบประมาณ จะมีการคำนวณเงินเดือนรวมไว้ในค่าบริการ OP-ทั่วไป, IP-ทั่วไป, บริการเฉพาะกรณีบางรายการ และ บริการ P&P หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี2556 ข้อเสนอปี2557 ปี2557-ที่จะปรับลดค่าแรง เพิ่ม/ลดจากปี56 เพิ่ม/ลดจากข้อเสนอปี57 1. สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 31, 33, 36, 5, 3, 2. สังกัดกรมใน สธ. (ตามจำนวนประชากรลงทะเบียน) 9.6191 3. ภาครัฐอื่นๆ 1, 1, 1,  รวม 32, 34, 38, 5, 3,

62 แนวทางการปรับลดค่าแรงหน่วยบริการภาครัฐปี 2557 (1)
หลักการส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 แยกเพดานการปรับลดค่าแรงเป็น 2 กลุ่ม คือ หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. และ หน่วย บริการรัฐสังกัดอื่น ให้ปรับลดค่าแรงหน่วยบริการภาครัฐ จากงบประมาณที่หน่วยบริการได้รับจาก ค่าใช้จ่าย OP-IP-P&P โดยให้ได้จำนวนเงินเท่าที่ สปสช.กำหนด และให้มีการเกลี่ย ระหว่างหน่วยบริการภายในกลุ่มเดียวกันได้ กรณีหน่วยบริการรัฐสังกัดอื่น (ยกเว้นสังกัด สป.สธ.) 3.1 สำหรับเขต 13-กทม. สามารถกำหนดแนวทางการปรับลดค่าแรงได้ตามความเหมาะสม โดยผ่านความเห็นชอบของ อปสข. และต้องหักให้ได้จำนวนเงินเดือนตามที่กำหนด 3.2 สำหรับเขตที่เหลือ ให้ปรับลดค่าแรงให้ได้จำนวนเงินเดือนตามที่กำหนด และให้หักเป็น % ตามรายรับที่ได้รับ โดย หักเงินเดือนสำหรับบริการ OP, P&P ตามจำนวนประชากรลงทะเบียนที่หน่วยบริการประจำ หักเงินเดือนสำหรับบริการ IP ตามจำนวนน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ให้บริการเฉพาะประชากรที่ ลงทะเบียนหน่วยบริการประจำในเขตพื้นที่ กรณีหน่วยบริการรัฐสังกัด สป.สธ. ให้มีแนวทาง ดังนี้

63 การปรับลดค่าแรงของหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ปี2557(1)
เสนอให้ผนวกการปรับประสิทธิภาพหน่วยบริการกับการปรับเกลี่ยค่าแรงของหน่วย บริการสังกัด สป.สธ. โดยมีหลักการ ดังนี้ การปรับเกลี่ยต้องนำข้อมูลรายรับรายจ่ายจากทุกแหล่งมาคำนวณ ไม่ใช่เฉพาะจาก ระบบ UC การปรับเกลี่ยต้องนำข้อมูลด้านประสิทธิภาพของหน่วยบริการ อาจใช้ ต้นทุนต่อหน่วย (unit cost) หรือตัวชี้วัดอื่นที่สามารถแสดงถึงประสิทธิภาพและศักยภาพของหน่วย บริการ (efficient and (performance) มาพิจารณาประกอบ เช่นความครอบคลุมใน การดูแลประชากร โดยต้องได้รับการยอมรับและตรวจทานจากหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ทุกระดับ การช่วยหน่วยบริการที่มีปัญหาการขาดทุนต้องมีเงื่อนไขในการพัฒนาประสิทธิภาพ ของหน่วยบริการให้ดีขึ้น ต้องจัดระบบรายงานความก้าวหน้าในการพัฒนาและระบบในการติดตามกำกับให้มีการ พัฒนาประสิทธิภาพตามแผนงานที่หน่วยบริการให้สัญญาว่าจะดำเนินการ อาจต้องมีมาตรการเฉพาะหากหน่วยบริการไม่สามารถแก้ไขปัญหาการขาด ประสิทธิภาพได้ตามแผนงานที่หน่วยบริการให้สัญญาว่าจะดำเนินการ

64 การปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ปี 2557 (2)
กรณีหน่วยบริการรัฐสังกัด สป.สธ. ให้มีแนวทาง ดังนี้ 4.1 ให้ปรับลดค่าแรงที่ระดับหน่วยบริการ (CUP) ตามจำนวนที่สำนักงบประมาณปรับลด และหากจำเป็นต้องแก้ไขปัญหาสภาพคล่องของหน่วยบริการให้ปรับลดค่าแรงเพิ่ม ไม่เกินอีกร้อยละ 3 ของจำนวนเงินเดือนของ CUP โดย สป.สธ. เป็นผู้พิจารณา 4.2 เงินที่หักไว้เกินเงินเดือนสำนักงบประมาณหักไว้ ให้เป็นวงเงินสำหรับการแก้ไข ปัญหาสภาพคล่องของหน่วยบริการ (เงิน CF) โดยมอบให้เครือข่ายบริการสุขภาพ ระดับเขตของกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดสรรระหว่างจังหวัดใน เขต และหากไม่จำเป็นต้องใช้ เงิน CF ให้จ่ายคืนหน่วยบริการ 4.3 การพิจารณาปัญหาสภาพคล่อง ให้พิจารณาจาก รายได้และรายจ่ายของทุกกองทุนและทุกแหล่งรายได้ ข้อมูลประสิทธิภาพของหน่วยบริการ โดยอาจจะใช้เกณฑ์เรื่องต้นทุนต่อหน่วย (unit cost) หรือค่าใช้จ่ายกลาง (average cost) หรืออื่นๆ ที่กระทรวง สาธารณสุขกำหนดที่สามารถแสดงถึงประสิทธิภาพและศักยภาพของหน่วย บริการ (efficient and (performance) มาพิจารณาประกอบ เช่นความ ครอบคลุมในการดูแลประชากร โดยต้องได้รับการยอมรับและตรวจทานจาก หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ทุกระดับ อนุการเงินการคลัง ให้ความเห็น

65 การปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ปี 2557 (3)
4.4 การสนับสนุนเงินสำหรับการแก้ไขปัญหาสภาพคล่องของหน่วยบริการ ให้จังหวัดปรับเกลี่ยเงินของ CUP ภายในจังหวัดเพื่อลดให้รายได้เหมาะสม โดย ไม่ให้เกลี่ยเงินของ CUP ในกลุ่ม hardship มาช่วย CUP อื่น หากผลรวมของรายได้หักค่าใช้จ่ายในภาพรวมจังหวัดยังติดลบ ให้เครือข่าย สุขภาพระดับเขตของกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้จัดสรรเงิน CF ของแต่ละเขตมา ช่วยจังหวัด โดย CUP ที่ได้รับการสนับสนุนเงินต้องมีการจัดทำแผนปรับ ประสิทธิภาพ หรือ LOI (letter of intent) หรือแผนฟื้นฟูทางการเงินการคลัง (Rehabilitation financial plan) โดยจะมีรายละเอียดเบื้องต้น คือ แจ้งให้จังหวัดทราบว่าเงินที่ได้ได้มาจากจังหวัดใดในเขต และให้ถือว่าจังหวัดที่ ได้รับงบ CF เป็นหนี้จังหวัดที่ให้ยืม และให้มีแนวทางการจ่ายคืน มีแผนการปรับประสิทธิภาพของ CUP โดยเขตจะมีการจัดทีมเพื่อติดตามการปรับ ประสิทธิภาพ โดยทีมดังกล่าวจะเป็นการทำงานร่วมกับทีมจาก สป.สธ. ให้มีการกำหนดมาตรการหากไม่บรรลุผลตามแผนการปรับประสิทธิภาพ อนุการเงินการคลัง ให้ความเห็น

66 2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อ เอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อ เอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์

67 2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ ปี 2557
2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ ปี 2557 แนวทางบริหารจัดการส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยมีการปรับบางส่วนดังนี้ ปรับการจ่ายค่าภาระงาน สำหรับการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้รวมเป็นต้นทุนบริการที่จ่ายให้หน่วยที่ให้บริการ ยังคงระบุการชดเชยภาระงานให้กับบุคลากร เฉพาะบริการให้การปรึกษา และภาระงานดูแลรักษา และบันทึกข้อมูล ปรับมาตรฐานตรวจติดตามระดับไวรัสในกระแสเลือด (Plasma Viral Load) ตามมาตรฐานสากล ขององค์การอนามัยโลก และมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อฯ กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ จากการตรวจติดตามปริมาณไวรัสในเลือดปีละ 1 ครั้งเป็นตรวจทุก 6 เดือน หลังเริ่มรับยา ต้านฯ เพื่อให้แก้ไขปัญหาการเกิดเชื้อดื้อยาแต่เนิ่นๆ เป้าหมายยาต้าน 188,000 ราย สูตรพื้นฐาน 167,100 ราย สูตรดื้อยา 20,900 ราย งบบริการผู้ติดเชื้อHIV/AIDS 2, ล้านบาท หมวดชดเชยบริการ (2, ล้านบาท) หมวดสนับสนุนการจัดบริการ (72.5 ล้านบาท)

68 3. งบบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง

69 3. กรอบแนวทางการบริหารจัดการ งบบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง 2557
แนวทางบริหารจัดการส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยมีการปรับบางส่วน ดังนี้ เป็นบริการทดแทนไตเท่านั้น สำหรับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจและการปลูกถ่ายตับใน เด็กกรณีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด ให้ใช้งบประมาณจาก “งบบริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายรายหัว รายการย่อย บริการเฉพาะกรณี” รายการ ปี 2556 [ได้รับ] ปี [จะได้รับ] เป้าหมาย งบประมาณ (บาท) 1. ค่าบริการทดแทนไต 31,523 4,097,975,000 35,429 5,154,104,000 - CAPD 16,513 19,195 - HD 9,324 9,848 - HD Self-Pay 4,522 5,213 - KT ผ่าตัด 156 144 - KT ยากดภูมิ 1,008 1,029 2. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 22,810,000 24,700,000 รวม 4,120,785,000 5,178,804,000 ให้เกลี่ยเงินระหว่างข้อ 1 และข้อ 2 ได้ตามศักยภาพของระบบบริการ

70 4.งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง
(บริการ 2nd prevention สำหรับผู้ป่วย เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง)

71 4. กรอบแนวทางบริหารงบควบคุมป้องกันความรุนแรง
ของโรค DM/HT ปีงบประมาณ 2557 งบโรคควบคุมป้องกันเรื้อรังความรุนแรงของโรค DM/HT ( ลบ.) ค่าบริการ 2nd prevention (748 ลบ.) ค่าสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ ( ลบ.) จัดสรรเป็นวงเงินระดับจังหวัดตามจำนวน ผู้ป่วยที่มีในทะเบียน : ความครอบคลุม และคุณภาพบริการ 2nd prevention ใน สัดส่วน = 60:40 จ่ายเงินให้หน่วยบริการ ตามข้อเสนอของ คณะกรรมการ NCD โดย 2.1) ไม่น้อยกว่า 90% ให้หน่วยบริการ 2.2) ไม่เกิน 10% ให้เป็นการดำเนินการ ร่วมกันระดับจังหวัดในการควบคุม ป้องกันตาบอดจากภาวะเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตา เพื่อพัฒนาระบบบริการ 2nd prevention พัฒนาบุคลากร ระบบสารสนเทศและ M&E

72 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดาร และพื้นที่เสี่ยงภัย)

73 แนวทางบริหารจัดการ ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) ปี 2557 เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น โดยมีแนวทางการ บริหารจัดการ ดังนี้ เป็นค่าบริการเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและ พื้นที่เสี่ยงภัย (พื้นที่ Hardship) ให้ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุนของโรงพยาบาลและ รพ.สต. (ชุดที่ปรับปรุงใหม่เป็น ตัวแทนหน่วยบริการที่มีประสิทธิภาพ) และข้อมูลงบการเงินของหน่วยบริการ โดย ประยุกต์จ่ายตามตัวแปรของสมการต้นทุน หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. อาจต้องเกลี่ยงบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไปที่ได้รับ มาสนับสนุนหน่วยบริการในพื้นที่ Hardship หากงบรายการนี้ไม่เพียงพอ ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณารายชื่อหน่วยบริการ และเงื่อนไขการจ่าย

74 6. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข
(หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข)

75 แนวทางบริหารจัดการงบ ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) ปี 2557
เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น โดยมีแนวทางการ บริหารจัดการ ดังนี้ แบ่งการบริหารจัดการเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1.1) จำนวน 2,000 ล้านบาท จ่ายเป็นค่าตอบแทนบุคลากรแบบเหมาจ่าย โดย คำนึงถึงจำนวนบุคลากร ระดับศักยภาพหน่วยบริการ และประเภทพื้นที่ 1.2) จำนวน 1,000 ล้านบาท จ่ายเป็นค่าตอบแทนบุคลากรตามผลการปฏิบัติงาน ให้มีคณะทำงาน 2 คณะ ตามข้อ 1.1) และข้อ 1.2) เป็นผู้จัดทำข้อเสนอแนว ทางการจ่ายให้หน่วยบริการ สปสช.จ่ายเงินตรงให้หน่วยบริการตามแนวทางที่คณะทำงานในข้อ 2) กำหนด

76 จบการนำเสนอ ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google