งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 8 การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร BC428 : Research in Business Computer

2 สถิติเชิงอนุมาน การประมาณค่าพารามิเตอร์สำหรับประชากร การทดสอบสมมติฐาน
BC428 : Research in Business Computer

3 การทดสอบค่าเฉลี่ย สำหรับประชากร 1 กลุ่ม
สมมติฐาน แบบที่ H0:  =  และ H1 :    แบบที่ H0:    และ H1 :    แบบที่ 3 H0:    และ H1 :    BC428 : Research in Business Computer

4 ข้อตกลงก่อนการทดสอบค่าเฉลี่ย
ประชากรจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ หรือขนาดตัวอย่างที่สุ่มมามีจำนวนมากกว่า 30 ค่า ข้อมูลจะต้องเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ (โดยข้อตกลงข้อนี้ไม่จำเป็นต้องทดสอบ) BC428 : Research in Business Computer

5 การทดสอบการแจกแจงแบบปกติ ของประชากร 1 กลุ่ม
สมมติฐาน H0 : ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ BC428 : Research in Business Computer

6 Data8_1.sav EXปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ของกลุ่มตัวอย่าง(วัน/สัปดาห์) ว่ามีการแจกแจงแบบปกติหรือไม่ คำถาม ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ วัน/สัปดาห์ คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics  Explore… BC428 : Research in Business Computer

7 Explore ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานได้ ดังนี้
Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์มีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2. สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.943 3. ค่า Sig = 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์มีการแจกแจงแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

8 เขียนผลการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ พบว่า ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์มีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

9 ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ จะต้องใช้สถิติแบบนอนพาราเมตริก
Data8_2.sav Ex ต้องการปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์(ตัวแปร Freq) ของกลุ่มตัวอย่าง (วัน/สัปดาห์) ว่ามีการแจกแจงแบบปกติหรือไม่ ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ จะต้องใช้สถิติแบบนอนพาราเมตริก BC428 : Research in Business Computer

10 กรณีที่ข้อมูลมีจำนวนมาก
Example.sav ข้อมูลชุดนี้สามารถนำไปวิเคราะห์สถิติแบบพาราเมตริกได้ต่อ เนื่องจากจำข้อมูลที่เก็บมามีจำนวนมาก ถือได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ BC428 : Research in Business Computer

11 วิธีการทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร 1 กลุ่ม
จะทดสอบเมื่อผ่านข้อตกลงข้อที่ 1 เรียบร้อยแล้ว คำสั่ง Analyze  Compare Means  One Sample T Test… BC428 : Research in Business Computer

12 การวิเคราะห์ผลกรณีที่เป็น 1 tailed test
ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า t เป็น บวก เมื่อค่า t เป็น ลบ H1 :  < θ 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 :  > θ BC428 : Research in Business Computer

13 ประมาณค่าแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรได้ ดังนี้คือ
T-Test Example.sav ประมาณค่าแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรได้ ดังนี้คือ < -5 < 0.84 <  < 5.33 <  < 5.84 หมายความว่า ค่าประมาณแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรอยู่ระหว่าง 5.33 กับ 5.84 ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% BC428 : Research in Business Computer

14 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานได้ ดังนี้
1. Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยเท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยไม่เท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ 2. สถิติทดสอบ คือ t-Test = 4.562 3. ค่า Sig = 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig<  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยไม่เท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

15 ผลการวิเคราะห์ ตัวแปร N SD t Sig. ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ 99
5.59 1.278 4.562 0.000 Test value = 5 จากตารางแสดงปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ พบว่า ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ไม่เท่ากับ 5 วันต่อสัปดาห์ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ ค่าประมาณแบบช่วงของค่าเฉลี่ยของประชากรอยู่ระหว่าง 5.33 กับ 5.84 ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% BC428 : Research in Business Computer

16 Example.sav Ex ต้องการทดสอบว่า ปริมาณการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์(ตัวแปร Freq2)มากกว่า 5 วัน หรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

17 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน
1. Ho : ปริมาณการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ไม่มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ H1 : ปริมาณการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์เฉลี่ยมากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ 2. สถิติทดสอบ คือ t-Test = 3. ค่า Sig(2-tailed) = เนื่องจากสมมติฐานเป็น 1-tailed ซึ่ง ค่า Sig ที่ได้จากการคำนวณ ใหม่ มีค่าเป็น Sig(1-tailed)= 1- (0.021/2) = = 4.ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยไม่มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

18 การทดสอบค่าเฉลี่ยสำหรับ ประชากร 2 กลุ่ม
กรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน(Independent Sample) กรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน (Dependent Sample) BC428 : Research in Business Computer

19 การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน
การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน สมมติฐาน แบบที่ 1 Ho: 1 = 2 และ H1 : 1  2 แบบที่ 2 Ho: 1  2 และ H1 : 1  2 แบบที่ 3 Ho: 1  2 และ H1 : 1  2 BC428 : Research in Business Computer

20 ทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกันจะต้องตรวจสอบข้อตกลง 3 ข้อ
ประชากรทั้งสองกลุ่มจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ หรือขนาดตัวอย่างที่สุ่มแต่ละกลุ่มมีจำนวนมากกว่า 30 ค่า ข้อมูลจะต้องเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ทดสอบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่มว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

21 1. การทดสอบการแจกแจงแบบปกติกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน
Data8_2.sav 1. การทดสอบการแจกแจงแบบปกติกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน Ex เป็นการทดสอบปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์(ตัวแปร Freq1)ของกลุ่มตัวอย่าง(วัน/สัปดาห์) โดยจำแนกตามเพศ(ตัวแปร Sex) ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ วัน/สัปดาห์ คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics  Explore… BC428 : Research in Business Computer

22 1.Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายมีการแจกแจงแบบปกติ
เมื่อจำแนกตามเพศชาย 1.Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายมีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2.สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.936 3.ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 4.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศชายมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 เมื่อจำแนกตามเพศหญิง 1.Ho : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศหญิงไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2.สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.917 3.ค่า Sig = 4.ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ของเพศหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

23 ผลการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์เมื่อจำแนกตามเพศ พบว่า ปริมาณการใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ทั้งเพศชายและเพศหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบเมื่อจำแนกตามเพศชายมีค่าเท่ากับ และเพศหญิงมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

24 ตัวอย่างที่ 8.7 อ่านเองนะค่ะ
BC428 : Research in Business Computer

25 2.วิธีการทดสอบค่าเฉลี่ยกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน
สมมติฐานสำหรับการทดสอบความแปรปรวน H0 : ความแปรปรวนของประชากร 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน ( ) H1 : ความแปรปรวนของประชากร 2 กลุ่มแตกต่างกัน ( ) คำสั่ง Analyze  Compare Means  2 Independent-Samples T Test… BC428 : Research in Business Computer

26 Ex ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์ผลิตสื่อการสอนต่อสัปดาห์(ตัวแปร Freq3) ระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิต มีความแตกต่างกันหรือไม่ Example.sav BC428 : Research in Business Computer

27 การทดสอบความแปรปรวนของ ประชากร 2 กลุ่ม
1. Ho : ความแปรปรวนของปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตไม่แตกต่างกัน H1 : ความแปรปรวนของปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตแตกต่างกัน 2. สถิติทดสอบ คือ F =7.063 3. ค่า Sig = 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig<  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ ความแปรปรวนของปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

28 การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม
1. Ho : ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตไม่แตกต่างกัน H1 : ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตแตกต่างกัน 2. สถิติทดสอบ คือ t =1.326 3.ค่า Sig = 4.ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5.ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยระหว่างวิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

29 ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนต่อสัปดาห์ จำแนกตามวิทยาเขต
ผลการวิเคราะห์ ปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนต่อสัปดาห์ จำแนกตามวิทยาเขต N SD t Sig. วิทยาเขตกล้วยน้ำไท 41 5.24 1.356 1.326 0.188 วิทยาเขตรังสิต 55 4.78 2.052 F=7.063; Sig of F=0.009 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนต่อสัปดาห์จำแนกตามวิทยาเขตพบว่า วิทยาเขตกล้วยน้ำไทและวิทยาเขตรังสิตมีปริมาณการใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอนเฉลี่ยต่อสัปดาห์ไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

30 ตัวอย่างที่ 8.9 อ่านเองค่ะ
BC428 : Research in Business Computer

31 การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน
การทดสอบกรณีที่กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน สมมติฐาน แบบที่ Ho: d = 0 และ H1 : d  0 แบบที่ Ho: d  0 และ H1 : d  0 แบบที่ Ho: d  0 และ H1 : d  0 BC428 : Research in Business Computer

32 Analyze  Compare Means  Paired-Samples T test…
Ex คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมแตกต่างกันหรือไม่ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Pretest 12 18 16 17 20 15 13 Posttest 14 19 คำสั่ง Analyze  Compare Means  Paired-Samples T test… BC428 : Research in Business Computer

33 Data8_10.sav BC428 : Research in Business Computer

34 ทดสอบสมมติฐาน Ho : คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน H1 : คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมแตกต่างกัน 2. สถิติทดสอบ คือ t = 3. ค่า Sig = 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

35 คะแนนสอบการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรม
ผลการวิเคราะห์ คะแนนสอบการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรม N SD t Sig. คะแนนสอบก่อนการเรียน 10 15.20 3.190 -0.404 0.696 คะแนนสอบหลังการเรียน 15.60 3.471 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างของคะแนนสอบก่อนและหลังการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรม พบว่า คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังการการเรียนปรับพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

36 Data8_11.sav Ex ต้องการทดสอบไอคิวของฝาแฝด โดยเก็บข้อมูลทั้งหมด 13 คน เพื่อทดสอบว่าไอคิวของแฝดพี่จะน้อยกว่าไอคิวของแฝดน้องจริงหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

37 การทดสอบสมมติฐาน 1. Ho : ไอคิดของแฝดพี่ไม่น้อยกว่าไอคิวของแฝดน้อง
2. สถิติทดสอบ คือ t = 3. ค่า Sig = / 2 = 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ไอคิวของแฝดพี่ไม่น้อยกว่าไอคิวของแฝดน้อง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

38 ผลการวิเคราะห์ ระดับไอคิวฝาแฝด N SD t Sig. ไอคิวแฝดพี่ 13 126.54 17.723 -1.399 0.0935 ไอคิวแฝดน้อง 134.15 18.429 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์ไอคิวระหว่างแฝดพี่และแฝดน้อง ไอคิวของแฝดพี่ไม่น้อยกว่าไอคิวของแฝด ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

39 การบ้านท้ายบท ไม่ต้องส่งค่ะ BC428 : Research in Business Computer

40 จบ Midterm แล้ว BC428 : Research in Business Computer


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google