งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)

2 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
การใช้พลังงานเพิ่มตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ I = Energy intensity = 2

3 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
I = Energy intensity =  = Energy elasticity = 3

4 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
I = Energy intensity =  = Energy elasticity = ถ้า  = 1 I มีค่าคงที่ ถ้า  > 1 I มีค่าเพิ่มขึ้นตามเวลา ถ้า  < 1 I มีค่าลดลงตามเวลา 4

5

6

7

8 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
พยากรณ์โดย 1. คาดการณ์ GDP ไปในอนาคต 2. อาศัย Energy intensity (I) หรือ Energy elasticity () เพื่อพยากรณ์ demand for energy ในอนาคต 8

9 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า รายงานการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า มีนาคม 2550 (ดู website คณะฯ) พยากรณ์ demand ปี (15 ปี) 9

10 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ขั้นตอนแรก พยากรณ์พลังงานไฟฟ้า (energy) โดย econometric model Energy D = f (GDP, ….) ผ่าน energy elasticity () 10

11 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ขั้นตอนแรก พยากรณ์พลังงานไฟฟ้า Energy D growth = GDP growth x  โดย  มีแนวโน้มลดลง 11

12

13 GDP growth rates

14 GDP growth rates

15 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ขั้นตอนที่ 2 พยากรณ์ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak power demand) อาศัยลักษณะการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อแปลง energy demand (MWh) ให้เป็น power load profile (MW) 15

16

17

18

19

20

21 4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)
ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ใช้ผลพยากรณ์ Peak power demand ในการวางแผนลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าล่วงหน้า 21

22 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
กรณีอนาคตไม่เหมือนอดีต + ทางเลือกในการเปลี่ยนเหตุการณ์ วาดภาพ (imagine) มากกว่า history เหตุการณ์สอดคล้องกันทางตรรกะ แต่มีชุดให้เลือกหลายชุด ให้เห็นโอกาสและปัญหา 22

23 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
บริษัท Shell ใช้บ่อย ขั้นตอน: 1. ระบุประเด็นตัดสินใจ 2. ระบุปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพล เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนฯ สิ่งแวดล้อม 23

24 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ขั้นตอน: 3. พัฒนาบท (plot) ของ scenario หลายชุด เช่น worst case, best, base (expected), รัฐบาลแทรกแซง, ดีต่อสิ่งแวดล้อม 24

25 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ขั้นตอน: 4. ใส่รายละเอียด เหตุการณ์/ การเปลี่ยนแปลง สำคัญ 5. ระบุผลกระทบสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจ 25

26 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 (ดู website คณะฯ) ความท้าทาย: “ใช้พลังงานมากขึ้น แต่สร้าง CO2 น้อยลง” 26

27 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 ความจริง (truths) 3 ประการ: ประเทศกำลังพัฒนาใช้พลังงานเข้มข้นมากขึ้น โดยเฉพาะจีน และอินเดีย 27

28 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 ความจริง (truths) 3 ประการ: อุปทานพลังงานมีจำกัดมากขึ้น น้ำมันและก๊าซเริ่มชะลอปี ถ่านหินขนส่งยากและสกปรก พลังงานทดแทนสำคัญมากขึ้น แต่ไม่มี “silver bullet” 28

29 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 ความจริง (truths) 3 ประการ: ยากมากขึ้นในการจำกัดปริมาณ CO2 ในบรรยากาศในระดับปลอดภัย 29

30 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 Scenario 2 ชุด: Scramble แย่งกัน หรือมั่ว (bad case) Blueprints พิมพ์เขียว วางแผน (good case) 30

31 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
Scramble แย่งกัน (bad case): ประเทศมุ่งแย่งกันหาพลังงาน โดยไม่ให้ความสำคัญกับปัญหาโลกร้อน และการประหยัดพลังงาน (ยากทางการเมือง) น้ำมันแพงมาก โลกใช้ถ่านหินมากขึ้น รวมทั้งนิวเคลียร์ และ biofuels 31

32 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
Scramble แย่งกัน (bad case): CO2 เพิ่มในระดับอันตราย โลกหันมาสนใจปัญหาโลกร้อน รัฐบาลต้องใช้มาตรการเด็ดขาดเพื่อลดใช้พลังงาน แต่ก็ “สายเกินไป” 32

33 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
Blueprints พิมพ์เขียว (good case): ตอบสนองต่อปัญหาพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างทันการณ์ และเป็นระบบ ความร่วมมือแก้ปัญหา เริ่มจาก “รากหญ้า” นำไปสู่ระดับรัฐบาลและโลก 33

34 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
Blueprints พิมพ์เขียว (good case): ภาษี สิ่งจูงใจ และตลาดค้าคาร์บอน ทำให้มีการประหยัดใช้พลังงาน เช่น รถไฟฟ้า carbon capture and storage ลม แดด และ clean coal technology 34

35 5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)
Blueprints พิมพ์เขียว (good case): ข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน โดยมีสหรัฐฯ จีน และอินเดียเข้าร่วมด้วย การใช้พลังงานต่อหัวลดลงในสหรัฐฯ และ EU CO2 ถูกจำกัดในระดับปลอดภัย 35

36 Unit: EJ 2000 2020 2050 Scramble Blueprints Oil 147 186 191 141 157 Gas 88 133 139 108 122 Coal 97 199 172 263 208 Nuclear 28 34 30 43 50 Biomass 44 59 52 131 57 Solar 2 7 94 74 Wind 9 36 39 Other Renewables 13 29 65 62 Total primary energy 417 650 629 881 769

37 2000 2020 2050 Scramble Blueprints Oil 35% 29% 30% 16% 20% Gas 21% 22% 12% Coal 23% 31% 27% Nuclear 7% 5% Biomass 11% 9% 8% 15% Solar 0% 1% 10% Wind 4% Other Renewables 3% Total primary energy 100%


ดาวน์โหลด ppt การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google