งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี
ปีงบประมาณ 2561

2 1. เกณฑ์ในการจัดระดับผู้สอบบัญชี
ตำแหน่ง ระยะเวลา การปฏิบัติงานสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีระดับ 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ 2 ปี ขึ้นไป ผู้สอบบัญชีระดับ 2 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ ไม่เกิน 2 ปี เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีชำนาญงาน ผู้สอบบัญชีระดับ 3 เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีอาวุโส ผู้สอบบัญชีระดับ 4 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีเชี่ยวชาญ การเลื่อนระดับผู้สอบบัญชีทุกระดับ ต้องผ่านการทดสอบความรู้ ตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กำหนด

3 2. การจัดระดับความยากในการสอบบัญชี ระดับความยาก ในการสอบบัญชี
ปัจจัย องค์ประกอบปัจจัย คะแนนปัจจัย ระดับความยาก ในการสอบบัญชี คะแนน ระดับความยาก ขนาด 1. ทุนดำเนินงาน 2. รายได้ธุรกิจหลัก 3. สมาชิก เล็ก คะแนน ปานกลาง คะแนน ใหญ่ คะแนน ใหญ่มาก คะแนน ความซับซ้อน 1. กิจกรรมทางการเงิน - การรับฝากเงิน - การให้กู้ 2. กิจกรรมผลผลิตและบริการ - การจัดหาสินค้ามาจำหน่าย - การรวบรวมผลิตผล - การให้บริการและการส่งเสริมการเกษตร 3. กิจกรรมต้นทุนการผลิต - ต้นทุนการผลิต 4. มีสาขา น้อย คะแนน มาก คะแนน มากที่สุด คะแนน 7 - 8 5 - 6 3 - 4 1 - 2 มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย

4 2. การจัดระดับความยากในการสอบบัญชี
ปัจจัยในการวิเคราะห์ความยากในการสอบบัญชี ความยากในการสอบบัญชี(1)+(2) (1) ขนาด (2) ความซับซ้อน ช่วงคะแนนรวม ระดับความยาก ในการสอบบัญชี ระดับ คะแนน ใหญ่มาก 4 มากที่สุด 7 - 8 ใหญ่ 3 มาก 5 - 6 ปานกลาง 2 3 - 4 เล็ก 1 น้อย 1 - 2 ไม่ดำเนินธุรกิจ, รายการบัญชีไม่เคลื่อนไหว, มีเพียงรายการบัญชียอดยกมา - ยกไป หรือมีเพียงดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร/สหกรณ์อื่นเพิ่มขึ้นเท่านั้น ไม่สามารถจัดระดับความยากได้

5 2. การจัดระดับความยากในการสอบบัญชี เสนอให้สตท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ
หากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์มีความเห็นว่าระดับความยากในการสอบบัญชีในระบบ Intranet ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ให้จัดทำหนังสือแจ้งเหตุผลที่ต้องพิจารณาจัดระดับความยากใหม่เป็นรายสหกรณ์โดยพิจารณาจาก 1. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องที่นายทะเบียนสหกรณ์ใช้อำนาจตามมาตรา แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ ให้แก้ไขข้อบกพร่อง 2. สหกรณ์ที่มีลักษณะของการดำเนินธุรกิจมีความซับซ้อนมาก เสนอให้สตท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ

6 3.1 การมอบหมายงานสอบบัญชี
3. การมอบหมายงานสอบบัญชีและการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 3.1 การมอบหมายงานสอบบัญชี - ให้หน.สตส.มอบหมายงานสอบบัญชีตามระดับผู้สอบบัญชีและความยากในการสอบบัญชี - เสนอผอ.สตท. พิจารณากลั่นกรองก่อนแต่งตั้งผู้สอบบัญชี - ผู้สอบบัญชีไม่ให้เป็นผู้สอบบัญชีเดิมติดต่อกันเกิน 3 ปี

7 3. การมอบหมายงานสอบบัญชีและการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี
ระดับ ตำแหน่ง ระดับความยากในการสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีระดับ 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ 2 ปี ขึ้นไป ยากน้อย ผู้สอบบัญชีระดับ 2 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ ไม่เกิน 2 ปี เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีชำนาญงาน ยากน้อย, ไม่สามารถจัดระดับความยากได้ ผู้สอบบัญชีระดับ 3 เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชีอาวุโส นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ 2 – 10 ปี ยากมาก, ยากปานกลาง, นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ 10 ปี ขึ้นไป ยากมากที่สุดอย่างน้อย 1 แห่ง, ยากมาก, ยากปานกลาง, ผู้สอบบัญชีระดับ 4 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีเชี่ยวชาญ ยากมากที่สุด

8 3.2 การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี
3. การมอบหมายงานสอบบัญชีและการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 3.2 การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี - ให้แต่งตั้งผู้สอบบัญชีตามรอบปีบัญชี แต่ไม่เกิน 45 วัน นับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน - กรณีสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้พิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากระดับ 2 ขึ้นไป - มีผู้สอบบัญชีแต่ละระดับไม่สอดคล้องกับจำนวนสหกรณ์ให้สตท ใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีตามความเหมาะสม โดยให้คำนึงถึงเส้นทางการเดินทางไปปฏิบัติงานควรอยู่ในเส้นทางเดียวกันเพื่อความสะดวกและเป็นการประหยัดงบประมาณ

9 4. มาตรฐานเวลาการปฏิบัติงานสอบบัญชี
ตั้งแต่วันที่เริ่มงานสอบบัญชีวันแรกจนถึงวันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน โดยให้นับเฉพาะวันที่ปฏิบัติงานจริงเท่านั้น ซึ่งให้นับรวมจำนวนวันที่ใช้ในการวางแผนงานสอบบัญชี และการปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีระหว่างปี เป็นวันปฏิบัติงานตามมาตรฐานเวลาปฏิบัติงานสอบบัญชีด้วย ระดับความยากในการสอบบัญชี มาตรฐานเวลาปฏิบัติงาน (วัน) มากที่สุด 45 มาก 30 ปานกลาง 20 น้อย 10 ไม่สามารถจัดระดับความยากได้ 7

10 - มีการดำเนินธุรกิจที่มีความซับซ้อนเป็นพิเศษ
4. มาตรฐานเวลาการปฏิบัติงานสอบบัญชี - สหกรณ์มีการทุจริต - มีการดำเนินธุรกิจที่มีความซับซ้อนเป็นพิเศษ - สหกรณ์ตั้งใหม่ที่มีความยากในการสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีสามารถขอขยายเวลาปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีได้ โดยเสนอผอ.สตท ผ่านหน.สตส.ในพื้นที่ พิจารณาตามที่เห็นสมควร

11 5.1 การวางแผนงานสอบบัญชี
5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5.1 การวางแผนงานสอบบัญชี - ภายใน 90 วันนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สอบบัญชี - เสนอแผนงานตรวจสอบต่อหัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เพื่อสอบทาน 5.2 การตรวจสอบบัญชีระหว่างปี - วางแผนตรวจสอบบัญชีระหว่างปี กลุ่มที่สามารถส่งงบการเงินได้ อย่างน้อย 1 ครั้ง - ให้เข้าตรวจสอบบัญชีระหว่างปีครั้งแรกก่อนวันสิ้นปีทางบัญชีไม่น้อยกว่า 4 เดือน - กรณีสหกรณ์ที่มีปัญหาการทุจริต หรือมีข้อบกพร่องให้วางแผนเข้าตรวจสอบบัญชีระหว่างปีทุกไตรมาส เพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันต่อสถานการณ์ - กรณีผู้สอบบัญชีตรวจพบข้อสังเกตในการตรวจสอบบัญชีระหว่างปี ให้แจ้งข้อสังเกตตามที่กรมฯกำหนดไว้ใน ว.86

12 5.3 การตรวจสอบบัญชีประจำปี
5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5.3 การตรวจสอบบัญชีประจำปี - ผู้สอบบัญชีเสนอรายงานการสอบบัญชีประจำปี งบการเงินและกระดาษทำการ ให้หน.สตส.สอบทานก่อนแสดงความเห็นต่องบการเงิน - กรณีผู้สอบบัญชีตรวจพบรายการที่ต้องปรับปรุงบัญชีประจำปี ให้จัดทำเป็นหนังสือถึงประธานสหกรณ์ และเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ - กรณีผู้สอบบัญชีตรวจพบข้อสังเกตในการตรวจสอบบัญชีประจำปี ให้แจ้งข้อสังเกตตามที่กรมฯกำหนดไว้ใน ว.86

13 5.4 การรายงานการสอบบัญชี (1) รายงานการสอบบัญชีระหว่างปี
5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5.4 การรายงานการสอบบัญชี (1) รายงานการสอบบัญชีระหว่างปี ภายใน 10 วัน นับแต่วันที่เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน เสนอน.ท.ส.ผ่านหน.สตส. (2) รายงานการสอบบัญชีประจำปี - ให้ผู้สอบบัญชีจัดทำรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานผลการตรวจสอบบัญชีตามที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด - รายงานของผู้สอบบัญชีกำหนดให้ต้องมีวรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบสหกรณ์ทุกประเภทที่ดำเนินธุรกิจ - หากผู้สอบบัญชีพิจารณาว่าไม่มีเรื่องสำคัญในการตรวจสอบให้ระบุข้อความภายใต้วรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ดังนี้

14 5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ
เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ คือ เรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงินสำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่มีเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ที่ต้องสื่อสารในรายงานของข้าพเจ้า และให้ปรับข้อความในวรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน ดังนี้ ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญ (ถ้ามี) ในระบบการควบคุมภายในซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ข้าพเจ้าพิจารณาเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินในงวดปัจจุบันเพื่อกำหนดเป็น “เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ” ซึ่งถ้ามี ข้าพเจ้าจะอธิบายเรื่องเหล่านี้ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะหรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้า เพราะการกระทำดังกล่าว สามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว

15 5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี
กรณีทุนต่ำกว่า 5 ล้านบาท /กลุ่มที่ไม่ดำเนินธุรกิจ 1. ตัดวรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบทิ้ง 2. ตัดวรรคท้ายสุดทิ้ง ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญ ในระบบการควบคุมภายในซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า

16 5. มาตรฐานการปฏิบัติงานสอบบัญชี
- ปีงบประมาณ 2561 อนุโลมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีทุนดำเนินงานต่ำกว่า 5 ล้านบาท ผู้สอบบัญชียังไม่ต้องพิจารณาเรื่องสำคัญในการตรวจสอบไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี   - ระยะเวลาการจัดส่งรายงานการสอบบัญชีประจำปี งบการเงินและกระดาษทำการ เสนอนายทะเบียนสหกรณ์ ภายใน 10 วัน นับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน - ให้ผู้สอบบัญชีจัดส่งรายงานของผู้สอบบัญชี รายงานผลการตรวจสอบบัญชี และงบการเงินเพื่อนำเสนอไว้ในรายงานประจำปีของสหกรณ์ - จัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในหลังวันที่หน.สตส.สอบทานร่างรายงานของผู้สอบบัญชีแต่ต้องภายในวันที่แสดงความเห็นต่องบการเงิน - รายงานข้อมูลทางการเงิน (Input form) ภายใน 5 วัน นับแต่วันที่แสดงความเห็นต่อ งบการเงิน

17 6. การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี
1 ผู้สอบบัญชี ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีที่ได้รับมอบหมายทุกชิ้นงาน 2 หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ สอบทานงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ทุกชิ้นงาน การวางแผนงานสอบบัญชี การปฏิบัติงานและการรายงานการสอบบัญชีระหว่างปีและประจำปีก่อนการแสดงความเห็นต่องบการเงิน 3 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ - กำกับดูแลการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่รับผิดชอบ - ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีทุกกระบวนการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาครัฐ อย่างน้อยรายละ 1 แห่ง - ควบคุมคุณภาพผลงานของผู้สอบบัญชีภาคเอกชนที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ อย่างน้อยรายละ 1 แห่ง


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google