งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เงินเฟ้อ Inflation.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เงินเฟ้อ Inflation."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เงินเฟ้อ Inflation

2 เงินเฟ้อ Inflation ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้า โดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น

3 ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น (รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่)
รายได้ที่แท้จริงลดลง อำนาจซื้อลดลง

4 ภาวะเงินเฟ้อ อำนาจซื้อลดลง

5 ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI
การวัดอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI

6 ปี มี CPI เท่ากับ ปี มี CPI เท่ากับ 130 อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริโภค ปี 2557 เท่ากับเท่าใด เมื่อเทียบกับปี 2554 CPI ปี 2556 = 120 CPI ปี 2557 เพิ่มขึ้น = x 100 = 120 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2557 =

7 ดัชนีราคาผู้บริโภค CPI
*** 132.3 2544 130.2 2543 128.2 2542 127.8 2541 118.2 2540 112.0 2539 105.8 2538 100 2537 อัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค CPI ปี 1.61 1.56 0.31 8.12 5.53 5.86 5.8

8 ระดับอัตราเงินเฟ้อ 0.1 - 5 เงินเฟ้ออย่างอ่อน 6 - 20 เงินเฟ้อปานกลาง
20 ขึ้นไป เงินเฟ้อรุนแรง

9 อัตราเงินเฟ้อ ระดับอัตราเงินเฟ้อ
200 2555 180 2554 140 2553 120 2552 110 2551 105 2550 102 2549 100 2548 อัตราเงินเฟ้อ CPI ปี ระดับอัตราเงินเฟ้อ *** *** เงินเฟ้ออย่างอ่อน 2 เงินเฟ้ออย่างอ่อน 2.94 เงินเฟ้ออย่างอ่อน 4.76 เงินเฟ้อปานกลาง 9.09 เงินเฟ้อปานกลาง 16.67 เงินเฟ้อรุนแรง 28.57 เงินเฟ้อปานกลาง 11.11

10 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2557 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n 128.2 - 127.8 = 127.8 x 100
= 127.8 x 100 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2557 CPI57 - CPI56 = CPI56 x 100 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n CPIn - CPIn - 1 = CPIn - 1 x 100

11 สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ (Demand - Pull Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน (Cost - Push Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม (Mixed Inflation) กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ

12 Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)
GDP = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M)

13 เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ ( Demand - Pull Inflation )
เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่อุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) เพิ่มขึ้น

14 สาเหตุที่อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้น
1. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน 2. การเพิ่มขึ้นของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมของประเทศ

15 1. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ

16 2. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ

17 เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation)
1. เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม 2. อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลด

18 สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น
1. การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า 2. การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต 3. การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และ วัตถุดิบต่างๆ

19 กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
1. การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า (Wage - Push Inflation) แรงงาน สินค้าชนิดหนึ่ง กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคา (ค่าจ้าง) ที่ดุลยภาพ

20 อุปสงค์ต่อแรงงานคงเดิม แต่ปรับราคาเพิ่มขึ้น
ถ้ามีการปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงานคงเดิม อุปสงค์ต่อแรงงานคงเดิม ต้นทุนเพิ่มขึ้น ลดปริมาณการผลิต ลดการจ้างงาน ไม่ลดการจ้างงาน แต่ปรับราคาเพิ่มขึ้น P เพิ่มขึ้น

21 2. การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต (Profit - Push Inflation)
ผู้ผลิตต้องการกำไรสูงกว่าเดิม ตั้งราคาสินค้าให้สูงขึ้น เงินเฟ้อ

22 3. การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และวัตถุดิบต่างๆ
ราคาน้ำมันหรือราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น Supply ลด ราคาเพิ่มขึ้น

23 เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม ( Mixed demand cost Inflation)
เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานมวลรวมในขณะเดียวกัน

24 P  OPEC ลดการผลิตน้ำมัน มีการลงทุนเพิ่มขึ้น (I ) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน
Aggregate Demand Aggregate Supply มีการลงทุนเพิ่มขึ้น (I ) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน มากขึ้น (G ) AD เพิ่ม OPEC ลดการผลิตน้ำมัน ราคาน้ำมันสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น AS ลด เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น P 

25 กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ
มีเงินเฟ้อในต่างประเทศ เกิดเงินเฟ้อภายในประเทศ

26 ประเทศไทยมีสินค้าออกที่สำคัญคือ ข้าว
ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้น ผู้ค้าข้าวได้รายได้เพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (สินค้าทั่วไป) AD เพิ่ม ราคาสินค้าโดยทั่วไปในประเทศสูงขึ้น C 

27 ประเทศ ก. ซื้อสินค้าจากประเทศ ข.
ถ้าประเทศ ข. เกิดเงินเฟ้อ ราคาสินค้าส่งออกสูงขึ้น ประเทศ ก. : ราคาสินค้านำเข้า จาก ข. สูงขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น ต้นทุนเพิ่มขึ้น ราคาสินค้าใน ก. เพิ่มขึ้น ภาวะเงินเฟ้อ

28 กรณีต้องนำเข้าสินค้าทุนจากต่างประเทศ
ถ้าราคาสินค้าทุนสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น AS ลด


ดาวน์โหลด ppt เงินเฟ้อ Inflation.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google