งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประวัติศูนย์ อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ปัจจุบัน ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ในฐานะศูนย์วิชาการรับผิดชอบงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ของกรมอนามัยในส่วนภูมิภาค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประวัติศูนย์ อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ปัจจุบัน ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ในฐานะศูนย์วิชาการรับผิดชอบงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ของกรมอนามัยในส่วนภูมิภาค."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2

3 ประวัติศูนย์ อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ปัจจุบัน ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ในฐานะศูนย์วิชาการรับผิดชอบงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ของกรมอนามัยในส่วนภูมิภาค โดยประสานกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 5 จังหวัด ในภาคเหนือตอนล่าง (ตาก, พิษณุโลก, เพชรบูรณ์,สุโขทัย,อุตรดิตถ์) และเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, NGO ต่าง ๆ โดยผลมุ่งให้ “ประชาชนสุขภาพดี” โครงสร้างศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (เปลี่ยนจากเดิมโรงพยาบาลแม่และเด็ก) โดยมีบทบาท 1.ให้บริการดูแลสุขภาพของประชาชนแบบองค์รวมตามกลุ่มอายุโดยเน้นกลุ่มผู้สูงอายุ 2.ผลิตและพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 3.ถ่ายทอดสนับสนุนองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตในสังคม และชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ ภายใต้มาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล HA และมาตรฐาน HPHNQC เปิดให้บริการคลินิค ส่งเสริมสุขภาพ 30 ก.ย.36 กรมอนามัย มีคำสั่งที่ 3196 / 2536 และ 3197/2536 ให้ข้าราชการจำนวน 7 คน และลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน รวม 9 คน บรรจุเข้า ดำเนินงานในกิจการของศูนย์ โดยให้ปฏิบัติราชการชั่วคราวที่ รพ.วังทองไปก่อน เปิดให้บริการเฉพาะผู้ป่วยนอก ในเวลาราชการ 30 ก.ย.37 ปี 2541 ปี 2543 เปิดให้บริการ โรงพยาบาลแม่และเด็ก 9 ต.ค. 2545 ปี 2544 ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและ บทบาทหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่ง ส่วนราชการกรมอนามัยกระทรวง สาธารณสุข พ.ศ.2545 หน่วยงาน เป็น “ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก” 3 ธ.ค.2558 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลกเปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก”เปลี่ยนตาม โครงสร้างและการดำเนินงานของกระทรวง สาธารณสุข ทำสัญญาก่อสร้าง 1 เม.ย.40 เปิดดำเนินการ “ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต 9 พิษณุโลก”

4 ข้อมูล ทั่วไป ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก มีพื้นที่ดำเนินการด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์ โดยมีพื้นที่ รวมทั้งหมดจำนวน 54,345.54 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 10.59 ของพื้นที่ประเทศไทย  ด้านประชากรรวมทั้งหมด 3,486,025 คน คิดเป็นร้อยละ 5.60  ด้านการปกครองมี อำเภอ= 47,ตำบล=424, หมู่บ้าน=4,493 เทศบาลนคร, เมือง, ตำบล = 111 และ อบต.= 354  ด้านการสาธารณสุข มี 4 ระดับ 676 แห่ง (ถ่ายโอน 4 แห่ง)  -รพศ./รพท.(A,S,M1) 8 แห่ง  -รพช. (M2) 6 แห่ง,รพช. (F1) 7 แห่ง,รพช.(F2) 22 แห่ง,รพช.(F3) 4 แห่ง  ด้านประชากรสาธารณสุขต่อประชากร

5 คณะกรรมการบริหาร ศูนย์ คณะกรรมการ วางแผนประเมินผล คณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ คณะกรรมการพัฒนา วิชาการและคลินิก วิจัย นพ. วีระชัย สิทธิปิยะสกุล กลุ่ม อำนวยก าร กลุ่มบริหาร ยุทธศาสตร์และการ วิจัย กลุ่มจัดการความรู้ และการศึกษาด้าน สุขภาพ กลุ่ม พัฒนาการ ส่งเสริมสุขภาพ กลุ่ม พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ นางจิรารัตน์ เนียมทอง นางสาว นพวรรณ ขำ โอด เภสัชกรชำนาญ การ นักจัดการงาน ทั่วไปชำนาญการ นายสุธน เพ็งคุ้ม นักวิชาการ สาธารณสุขชำนาญ การพิเศษ ดร. ลินดา สิริ ภูบาล นักวิชาการ สาธารณสุข เชี่ยวชาญ นางกัญชลี ไวว่อง นักวิเคราะห์นโยบาย และแผน ชำนาญการ พิเศษ

6  สัดส่วนบุคลากรแยกตามประเภท  ระดับตำแหน่งของบุคลากร ข้อมูล ณ มีนาคม 2559  วุฒิการศึกษาของบุคลากร ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก มีบุคลกร ตามกรอบ อัตรากำลัง 109 คน ปฏิบัติงานจริง 103 คน อายุตัว เฉลี่ย 39.30 อายุราชการ 14.83

7 * พัฒนาการเด็ก * สารแคดเมี่ยมปนเปื้อน * ฟลูออไรด์ * สารตะกั่วในเลือด * การบริหารจัดการขยะกับชุมชน * เขตชายแดนและพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษ * โรคติดเชื้อและโรคระบาด * พัฒนาการเด็ก * การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น * ไข้เลือดออก * น้ำท่วมขังซ้ำซาก * การบริหารจัดการขยะกับชุมชน * ประชากรผู้สูงอายุ=14.74 * พัฒนาการเด็ก = 84.97 % * โรงไฟฟ้า * ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ * โรงสีข้าว * การบริหารจัดการขยะกับ ชุมชน * สังคมผู้สูงอายุ=17.18 ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ * เหมืองทอง * มารดาตาย * โรคไข้เลือดออก * โรคไข้หวัดนก * การบริหารจัดการขยะกับชุมชน * มารดาตาย * พัฒนาการเด็ก * ภาคเกษตร,การใช้ยาฆ่าแมลง,สารเคมี * ฟาร์มเลี้ยงสัตว์,ฆ่าสัตว์ * เหมืองทอง * การบริหารจัดการขยะกับ ชุมชน เพชรบูรณ์ พิษณุโลก จุดพัฒนา  Self care  Health Literacy ของชุมชน  การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข  เขตชายแดน และ พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ  ปัญหาเฉพาะของพื้นที่ด้านสิ่งแวดล้อมและโรคระบาด  Climate change V.S. Public Health Problem จุดเด่น  ภาคีเครือข่าย  สถาบันการศึกษา / มหาวิทยาลัย ปัญหาภาพรวม  พัฒนาการเด็ก  มารดาตาย  ขยะมูลฝอย  เหมืองทอง ( พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตร)  พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ

8 ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ พิษณุโลก -มารดาตาย 0 : แสนเกิดมีชีพ -Early ANC 63.15 % -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 37.33 % -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 15.29% -เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง 78.89% -มารดาตาย 97.11 : แสนเกิดมีชีพ -Early ANC 49.62 % -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 42.5 % -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 13.25 % -เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง 90.73 % -มารดาตาย 0 : แสนเกิดมีชีพ -Early ANC 47.07 % -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 46.46 % -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 13.96% -เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง 57.76% -มารดาตาย 35.75 : แสนเกิดมีชีพ -Early ANC 55.75 % -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 50.64 % -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 14.42 % -เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง 81.79% -มารดาตาย 0 : แสนเกิดมีชีพ -Early ANC 54.71 % -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 42.97 % -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 6.60 % -เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง 63.0% สถานการณ์กลุ่มมารดา ปีงบประมาณ 2558 -มารดาตาย 33.34 : แสนเกิดมีชีพ -Early ANC 54.76 % -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 44.38 % -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 13.37% -เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง 76.37 % เขต 2

9 ตาก เด็ก 0-5 ปี = 48,031 คน PMR= 8.78 : พันการเกิด Anemia = 15 % LBW = 8.29% BA = 33.66 : 1,000LB ECD = 83.83% 2-ECD = 31.03% อุตรดิตถ์ เด็ก 0-5 ปี = 25,790 คน PMR= 9.84 : พันการเกิด Anemia = 14 % LBW = 9.47% BA = 29.23 : 1,000LB ECD = 84.97% 2-ECD = 21.92% สุโขทัย เด็ก 0-5 ปี = 35,785 คน PMR= 3.78 : พัน การเกิด Anemia = 7 % LBW = 8.13% BA = 12.51 : 1,000LB ECD = 85.39% 2-ECD = 10.84% เพชรบูรณ์ เด็ก 0-5 ปี = 63,323 คน PMR= 3.70 : พันการเกิด Anemia = 14 % LBW = 9.20% BA = 26.30 : 1,000LB ECD = 80.62% 2-ECD = 12.21% พิษณุโลก เด็ก 0-5 ปี = 54,073 คน PMR= 6.02 : พัน การเกิด Anemia = 13 % LBW = 9.78% BA = 42.24 : 1,000LB ECD = 80.16% 2-ECD = 17.57% ( รายงานการตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 2. 2558)

10 ประเภทงบได้รับจัดสารเบิกจ่ายPOคงเหลือ งบดำเนินงาน 10,757,5005,921,626.15 (55.05) 200,167.32 (1.86) 4,535,706.35 (43.09) งบรายจ่ายอื่น 205,0005,400 (2.63) -199,600 (97.37) งบลงทุน 30,272,8881,047,888 (3.46) 5,632,850 (18.61) 23,592,150 (77.93) รวมงบ ที่ได้รับจัดสรร 41,235,3886,974,914.15 (16.91) 5,833,017.32 (14.15) 28,427,456.53 (68.94)

11

12

13 หน่วยงานจำนวนเงิน (บาท)  สำนักโภชนาการ (ธ.ค. = 65,000, ก.พ. = 25,000) 90,000  กองออกกำลังกาย (ธ.ค. = 30,000, ม.ค. = 30,000) 60,000  กองประเมินผลกระทบ (ธ.ค. = 100,000, ม.ค. = 180,000, มี.ค. = 35,000 ) 315,000  สำนักสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง (ธ.ค. = 30,000 ) 30,000  สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (ธ.ค. = 30,000 ) 30,000  สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม (ม.ค. = 30,000, ก.พ. = 35,000) 65,000  สำนักสร้างและจัดการความรู้ (ก.พ. = 64,000 ) 64,000  ยังไม่รู้แหล่งที่มา (มี.ค. = 20,000 ) 20,000 รวม 674,000

14

15 โครงการวันที่รับโอนจำนวนเงิน ก่อหนี้+เบิกจ่าย คงเหลือหมายเหตุ สำนักโภชนาการ (90,000 บ.) 1.โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการงานปัญหาโภชนาการ (Smart Kids) 2.ป้องกันการขาดสารไอโอดีน 3.(วิจัย)ศึกษาตัวชี้วัด เกณฑ์มาตรฐานประเมินภาวะ โภชนาการหญิงตั้งครรภ์ 4.โครงการเด็กไทยสูงสมส่วน สมองดี แข็งแรง ปี 2559 21 ธ.ค. 58 29 ธ.ค. 58 19 ก.พ. 59 30,000 10,000 25,000 30,000 - 13,900 - 10,000 11,100 25,000 อยู่ระหว่างดำเนินการ ดำเนินงานไตรมาส 3 กองออกกำลังกาย (60,000 บ.) 1.โครงการพัฒนาศักยภาพสถานบริการออกกำลังกาย 2.พัฒนาคุณภาพคลินิกไร้พุง DPAC 29 ธ.ค. 58 11 ม.ค. 59 30,000 ---- ดำเนินงานไตรมาส 3 กองประเมินผลกระทบ (315,000 บ.) 1.เฝ้าระวังติดตามตรวจสอบผลกระทบเหมืองแร่ 2.(วิจัย)ประเมินผลกระทบด้านอนามัยสวล. เพื่อเข้าสู่ AEC 3.พัฒนาระบบฐานข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม 29 ธ.ค. 28 21 ม.ค. 59 18 มี.ค. 59 100,000 180,000 35,000 ------ 100,000 180,000 35,000 อยู่ระหว่างจัดทำโครงการ

16 โครงการวันที่รับ โอน จำนวน เงิน ก่อหนี้+ เบิกจ่าย คงเหลือหมายเหตุ สำนักสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง (30,000 บ.) 1.ประชาสัมพันธ์29 ธ.ค. 5830,000- สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (30,000 บ.) 1.โครงการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารและ คุณภาพน้ำบริโภค 23 ธ.ค. 5830,000- ดำเนินงานไตรมาส 3 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม (65,000 บ.) 1.จัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมไทย 2.โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบการจัดการมูลฝอยเขต สุขภาพที่ 2 6 ม.ค. 59 3 ก.พ. 59 30,000 35,000 ---- 30,000 35,000 ดำเนินงานไตรมาส 3 **สำนักสร้างและจัดการความรู้ (64,000 บ.)** 1.ศึกษาผลของชุดกิจกรรมลดอ้วนในนักเรียนที่มีภาวะ โภชนาการเกิน 12 ก.พ. 5964,000- -อยู่ระหว่างจัดทำ โครงการ -กระตุ้นนักวิจัยแต่ งบประมาณไม่ สอดคล้อง ยังไม่ทราบแหล่งที่มา (20,000 บ.)18 มี.ค. 5920,000-

17 กลุ่มงานงบประมาณที่ได้รับเงินโอนร้อยละ กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ645,000234,00036.27 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม1,188,000410,00034.51 กลุ่มบริหารยุทธ์ศาสตร์และการวิจัย3,210,378.9530,0000.93

18 1.โครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุโครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 2. โครงการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติ ปี 2559โครงการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติ ปี 2559 3. โครงการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในถิ่นทุรกันดาร (กพด.)ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีโครงการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในถิ่นทุรกันดาร (กพด.)ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 4. โครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยะที่ 2 ปี 2559โครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยะที่ 2 ปี 2559 5. โครงการขับเคลื่อนมาตรการทางกฎหมายเพื่อปกป้อง ส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 7. โครงการ การยกร่างพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่...) พ.ศ.... 8. โครงการพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยโครงการพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย 9. โครงการประชุมขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านสุขภาพ ปี 2559โครงการประชุมขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านสุขภาพ ปี 2559 10. โครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล LTCโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล LTC 11. โครงการพัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโครงการพัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

19

20 โครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ  ผลการดำเนินงาน 1.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี -ระดับยอดเยี่ยม เครือข่ายอำเภอเขาค้อ -ระดับดีมาก เครือข่ายอำเภอสวรรคโลก -ระดับดี เครือข่ายอำเภอบ้านตาก อำเภอท่าปลา และ อำเภอบางระกำ 2. ประกวดผู้สูงอายุฟันดี 80 ปี และ 90 ปี ระดับเขต ดำเนินการ พ.ค.-ส.ค.59 3.ขยายผลการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในโรงเรียน โดยใช้ กลวิธี “ทันตกรรมเพิ่มทวี” 26-27 ต.ค.58 4.ส่งเสริมการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในโรงเรียน “โรงเรียนฟันแท้ดีครบ จนจบ ป.6 (Dental Cavity Free School)” ในปีการศึกษา 2558 (งปม. 2559) ครั้งแรก จำนวน 12 โรงเรียน และมีการประเมินซ้ำในโรงเรียนวัดตาปะขาวหาย ปี 2 เพื่อคงสภาพการเป็น “โรงเรียนฟันแท้ดีครบ จนจบ ป.6 (Dental Cavity Free School)” ซึ่งผลการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างการดำเนินงาน

21 ผลการดำเนินงานทันตสารณสุข ตามโครงการฟันเทียมพระราชทาน ปีงบประมาณ 2559 จังหวัดเป้าหมาย ผลการ ดำเนินงาน ร้อยละหมายเหตุ พิษณุโลก64058591.41 รายงานการตรวจ ราชการ (24-26 ก.พ.59) เพชรบูรณ์60021135.17 รายงานการตรวจ ราชการ (9-11 มี.ค. 59) อุตรดิตถ์34017952.65 รายงานการตรวจ ราชการ (2-4 มี.ค. 59) สุโขทัย49129560.08 6 เดือน (22 มี.ค. 59) คุณสายสมร ตาก4607424.10 3 เดือน (22 มี.ค. 59) คุณรุนิยา เขต22,5311,34453.10 จำนวนผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุได้รับฟันเทียมพระราชทาน

22 ผลการตรวจปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก น้อยกว่า 150ไมโครกรัม / ลิตร ร้อยละ 50 (ถ้าเกินร้อยละ 50 ถือว่าขาดไอโอดีน)

23 โครงการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในถิ่นทุรกันดาร (กพด.)ตาม พระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 1.จัดทำเนียบภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ (สสจ. สสอ. รพช. รพสต.) 2.ประสานเครือข่ายในพื้นที่และร่วมประชุมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานอนามัย แม่และเด็กในพื้นที่ทุรกันดาร ในระหว่างวันที 21-22 เมษายน 2559 ที่โรงแรมดิอิม เพรสส เชียใหม่ (จัดโดยสำนักส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก) 3.ในปี 2558 นำเสนอผลการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียนในพื้นที่ กพด. ณ เวทีการ ประชุมวิชาการโภชนาการแห่งชาติ เมื่อ 21-23 ตุลาคม 2558 4.ตรวจเยี่ยมและพัฒนายกระดับคุณภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยมีโรงเรียน ตำรวจ ตะเวนชายแดน ผ่านการประเมินรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ เพชร จำนวน 1 แห่ง ได้แก่โรงเรียน ตชด.จุฬา-ธรรมศาสตร์ อ.ท่าสองยาง จังหวัด ตาก

24

25 โครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ระยะที่ ๒  โรงเรียนในสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 31 จ.อุตรดิตถ์ จำนวน 1 แห่ง  โรงเรียนในสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 34 จ.ตาก จำนวน 7 แห่ง  ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง จำนวน 7 แห่ง (ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง ลำปาง รับไปดำเนินการ) 15 แห่ง

26 1.ประสานความร่วมมือกับ สสจ.ตาก สสจ.อุตรดิตถ์ กองกำกับตำรวจตระเวนชายแดน 31 และ 34 กองร้อย ตำรวจตระเวนชายแดน 314 และ 344 การศึกษานอกโรงเรียนที่ดูแลศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้า หลวง หารือแนวทางการทำงานร่วมกัน 2.สำรวจข้อมูลสถานการณ์ส้วมโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารในพื้นที่เป้าหมายตามพระราชดำริฯ จำนวน 11 แห่ง 3.ขณะนี้สิ่งของที่บริจาคและปูนได้ทยอยส่งมอบในพื้นที่แล้ว ได้ดำเนินการประสานเชื่อมต่อระหว่างเจ้าของ บริษัทที่บริจาคสุขภัณฑ์และปูน กับอาจารย์ในโรงเรียน ตชด. 8 แห่ง ถึงรูปแบบวิธีการรับสิ่งของ และการ ช่วยเหลือขนสุขภัณฑ์ให้โรงเรียนบางโรงเรียน 4.ส่วนกลางจากกรมอนามัย โดยสำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข ร่วมด้วยศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบ้านโคก กองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดน 31 เข้าตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ์ฯ ระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2559 ชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนินงานโครงการ พร้อมให้คำแนะนำ ณ รร.ตชด.ยอด โพธิ์ทอง 1 อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559

27 หนังสือคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Standard Operating Procedure : SOP) ทราบมาว่าส่วนกลางเลิกผลิตแล้ว

28 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น  เครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่น  โรงพยาบาล/อำเภอที่ดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ จำนวน 10 แห่ง หรือร้อยละ 70 ของโรงพยาบาล/อำเภอ ผ่านการประเมิน มาตรฐานคลินิกวัยรุ่น และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

29 1.การเก็บรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 5 จังหวัด 2.ประเมินมาตรฐานคลินิกวัยรุ่น และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 3.การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ได้เลือก จังหวัดสุโขทัย

30 ปัญหาอุปสรรคและข้อขัดข้องในด้านวิชาการ และด้านการบริหารจัดการ 1.การสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ได้เลื่อนเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลออกไป เนื่องจากกรมอนามัยได้ให้โรงพยาบาลทุกแห่งเก็บข้อมูลเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่ง แบบสอบถามไม่แตกต่างจากศูนย์อนามัย เพื่อลดปัญหาและความยุ่งยากของพื้นที่ในการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บข้อมูลจะใช้แบบสอบถามกรมอนามัย ซึ่งมีแผนชี้แจงในวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 2.พื้นที่ไม่ขอประเมินมาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์และคลินิกวัยรุ่น เพราะขาดความพร้อมและ การบูรณาการระหว่างเครือข่ายในพื้นที่ในการแก้ไขปัญหาวัยรุ่น 3.ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดและพื้นที่เปลี่ยนงานใหม่ มีภาระงานเยอะ ทำให้ขาดการกระตุ้นและ พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

31 การขับเคลื่อนการดำเนินงาน

32 การส่งเสริมการพัฒนาระบบสุขภาพเด็กปฐมวัย ผลการดำเนินงาน 1.ผลักดันกลไกการดำเนินงาน ผ่านคณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 2.พัฒนาแนวทางส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผ่านคณะกรรมการเด็กปฐมวัย กรมอนามัย 3.พัฒนาระบบการวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงสุขภาพภาคประชาชน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค แบบมุ่งผลลัพธ์ (Result Based Health Promotion & Disease Prevention; RBPP) เขตสุขภาพที่ ๒ และพัฒนาฐานข้อมูลเฝ้าระวังความเสี่ยงสุขภาพภาคประชาชนร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพ ภาคประชาชน 4.บูรณาการโครงการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก และมีการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่างศูนย์วิชาการที่เกี่ยวข้อง กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 2 5.ถอดบทเรียนและแนวคิดการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพยอดเยี่ยม ระดับเขต 6.สุ่มประเมินรับรองมาตรฐานคลินิกเด็กดีคุณภาพร่วมกับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก และศูนย์สุขภาพจิตที่ 2 พิษณุโลก 7.เก็บข้อมูลเฝ้าระวังกลุ่มเด็กปฐมวัย จัดเวทีวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาจัดทำข้อเสนอและแนวทางพัฒนา ร่วมกันระหว่างศูนย์วิชาการและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 2 8.ผลักดันการดำเนินงาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 2

33 9. พัฒนาและบูรณาการฐานข้อมูลพัฒนาการเด็ก 43 แฟ้มกับ DSPM และ TCDIP ร่วมกับสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ จังหวัดเชียงใหม่ คณะกรรมการพัฒนา เด็กปฐมวัยระดับเขต และระดับจังหวัด ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ เฉพาะเขตสุขภาพที่ 2 จำนวนศูนย์เด็กเล็ก 50 แห่ง  เครื่องมือ 1 ชุด  คู่มือ DSPM 40 เล่ม ศูนย์เด็กเล็ก 1 แห่ง

34 โครงการประชุมขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านสุขภาพ ปี 2559  การพัฒนาศักยภาพนักจัดการปัญหาโภชนาการในวัยเรียน (Smart Kids Coacher) 1. ทีมจัดการปัญหาแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในระดับพื้นที่ (ทีมครู ก) ได้แก่ ทีมสหวิชาชีพใน ระดับจังหวัด/อำเภอเมือง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด ผู้รับผิดชอบงานงานระดับ อำเภอ ทีมงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจาก รพท./รพศ. และจากเทศบาลเมือง/เทศบาลนคร, เจ้าหน้าที่พล ศึกษาระดับจังหวัด จาก 5 จังหวัด (เน้นกิจกรรมจัดการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน) 2.ครูพลศึกษาและครูอนามัยโรงเรียนจากโรงเรียนต้นแบบ จาก 5 จังหวัด ๆ ละ 2 โรงเรียน โดย ให้จังหวัดคัดเลือกโรงเรียนที่มีอัตราอ้วนมากกว่า ร้อยละ 10 และมีความพร้อมและตั้งใจที่เข้าดำเนิน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรม 1. จัดอบรม ภาคบรรยายและฝึกปฏิบัติ เน้นการจัดกิจกรรม food for fun และ fun for fit โดยเชิญวิทยากรจากกองออกกำลังกายและวิทยากรของศูนย์ร่วมดำเนินการ 2.จัดทำแผนการดำเนินงานของจังหวัดและโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ (ดำเนินการในโรงเรียนใน ปีการศึกษา 2559) 3.นิเทศ ติดตาม และสรุปผลโดยทำในลักษณะการวิจัยกึ่งทดลอง

35 โครงการพัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ  ผลการดำเนินงาน  ประสานชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน  สำรวจและติดตามข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ ลำดับที่จังหวัดปริมาณขยะทั้งหมดเฉลี่ยต่อวัน 1พิษณุโลก404,098.51107.12 2เพชรบูรณ์348,296954.24 3ตาก262,640760.26 4สุโขทัย242,247.3663.67 5อุตรดิตถ์213613.2519.22 รวม1,470,8954,004.51 ผลการสำรวจปริมาณขยะ ปี 2558

36 1.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ทราบถึงบทบาทหน้าที่ในการควบคุม กำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่ของตนเอง 2. การใช้ตราสัญลักษณ์ที่พิมพ์ลงบนภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ เพื่อให้เป็นไปตามที่กฎกระทรวงกำหนด มีปัจจัยเรื่องงบประมาณที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้โรงพยาบาลยังไม่สมารถปรับเปลี่ยนได้ทันที ปัญหาอุปสรรคและข้อขัดข้องในด้านวิชาการ และด้านการบริหารจัดการ

37 ตัวชี่วัดเป้าหมายผลงาน 1.อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน 15:แสนการเกิดมีชีพ 53.64 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85 97.87 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 10 2.37 4.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 : 1000 18.80 5. จังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการตายมารดาจากการตั้งครรภ์และการคลอดที่มี ประสิทธิภาพ ร้อยละ 60 100 6. จังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ร้อยละ 60 100 7. ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาม LTC ร้อยละ 4031.84 8.รพ.สังกัด กสธ.มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละ 84 100 9.รพ.สังกัด กสธ.ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และรับรอง รพ.ตามมาตรฐานการ บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) ฉบับบูรณาการ ร้อยละ 68อยู่ระหว่าง ดำเนินการ 10.รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่อปากที่มีมีคุณภาพ 5 กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 5037.92

38

39

40


ดาวน์โหลด ppt ประวัติศูนย์ อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ปัจจุบัน ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ในฐานะศูนย์วิชาการรับผิดชอบงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ของกรมอนามัยในส่วนภูมิภาค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google