งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเชื่อมโยงกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีฯ กรอบทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 และยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องของกรมอนามัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเชื่อมโยงกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีฯ กรอบทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 และยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องของกรมอนามัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเชื่อมโยงกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีฯ กรอบทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 และยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องของกรมอนามัย กลุ่มพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมอนามัย 26 เมษายน 2559 1 เอกสารหมายเลข 5

2 รัฐบาลได้กำหนดวิสัยทัศน์ในกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ.2560-2579 ไว้ว่า “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” และกำหนด ยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ เพื่อสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ จึงจำเป็นต้องมีการถ่ายทอด แนวทางฯ สู่การปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลาอย่างบูรณาการ ดังนั้น ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 จึงนำวิสัยทัศน์ชาติมาเป็นวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และนำ ยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้ง 6 ด้านที่กำหนดมาเป็นแนวทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 โดยจะกำหนดยุทธศาสตร์ให้ตอบสนองกับบริบทการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น ในช่วง 5 ปีแรกของยุทธศาสตร์ (พ.ศ.2560-2564) เป็นสำคัญ 2

3 www.nesdb.go.th 3

4 4

5 5

6 6

7 7 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนงานสาธารณสุขฯ และโครงการกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนงานสาธารณสุขฯ และโครงการกรมอนามัย (เอกสารแนบท้ายหน้า 25)

8 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 หากไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะเป็นแผน ฉบับแรกที่มีการนำแผนเข้าสู่ขั้นตอน การรับรองของรัฐสภา เพื่อให้ มีผลทางกฎหมาย ตามที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนด ว่ารัฐบาล มีหน้าที่ต้องบริหารประเทศ ตามข้อกำหนดของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งต่างจากเดิมที่รัฐบาลต้อง สนองตอบต่อนโยบายที่หาเสียงไว้กับประชาชน จนละเลยไม่หยิบ แผนพัฒนาฯ ขึ้นมาดำเนินการให้เป็นรูปธรรมเท่าที่ควร 8

9 กรอบแนวคิดและหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเทศจะยังคงประสบ สภาวะแวดล้อมและบริบทของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงทั้งจากภายในและภายนอก ประเทศ  การเปิดเศรษฐกิจเสรี  สังคมสูงวัย  ภัยธรรมชาติที่รุนแรง  ปัญหาผลิตภาพการผลิต  ความสามารถในการแข่งขัน  คุณภาพการศึกษา  ความเหลื่อมล้ำทางสังคม คนเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม สนับสนุน & ส่งเสริม การปฏิรูปประเทศ ประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง พัฒนาสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สังคม มีความสุข 9

10 กรอบทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 วิสัยทัศน์ : มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจาก ประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง กระจายรายได้และพัฒนาอย่างเท่า เทียม มีระบบนิเวศน์ที่ดี สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การกำหนดตำแหน่งทาง ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategic Positioning) ประเทศไทยเป็นประเทศรายได้สูงที่มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้าน การขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ความเป็นชาติการค้าและบริการ (Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรกรรมยั่งยืน แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และ มีนวัตกรรมสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1.เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.สร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่าง ยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน 5.ด้านความมั่นคง 6.เพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ 7.ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ โลจิสติกส์ 6.ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 7.พัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ 8.ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และ ภูมิภาค กรอบวิสัยทัศน์แผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ 10

11 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1. การเสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพทุนมนุษย์ 2. การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3. สร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่าง ยั่งยืน พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้เป็น คนดี คนเก่ง มีระเบียบวินัย และมี คุณภาพชีวิตที่ดี ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการ เรียนรู้ สร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่ เอื้อต่อสังคมสูงวัย การป้องกันและควบคุมปัจจัยทาง สังคมที่กำหนดสุขภาพเพื่อสร้างสุข ภาวะทีดี สร้างบทบาทสถาบันสังคมและทุน ทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสังคม การยกระดับรายได้ สร้างโอกาสใน การประกอบอาชีพ และขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานราก การเข้าถึงบริการทางสังคมของรัฐ อย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง และเป็นธรรม การจัดรูปแบบบริการสุขภาพและ สวัสดิการสังคมขั้นพื้นฐานที่จำเป็น และเหมาะสมตามกลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชน และ เพิ่มศักยภาพกองทุนยุติธรรม บริหารจัดการนโยบายการเงินและ การคลัง ปฏิรูปภาษีทั้งระบบ ปรับโครงสร้างการผลิตและบริการ : ภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ การ ลงทุน วางรากฐานการพัฒนามนุษย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม กฎระเบียบ ส่งเสริมผู้ประกอบการให้เข้มแข็งสู่ เศรษฐกิจดิจิตอล เศรษฐกิจขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 11

12 5. ด้านความมั่นคง ดำรงสถาบันหลักของชาติให้ดำรงอยู่อย่างมั่นคง สร้างความเชื่อมั่น ความสามัคคี ความสงบสุขของคน ในชาติ สร้างความเชื่อมั่นและพัฒนาความร่วมมือในกลุ่ม ประเทศอาเซียนและประชาคมโลก รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและปกป้องรักษาผลประโยชน์ทาง ทะเล สร้างความมั่นคง :ด้านอาหาร พลังงาน และน้ำ/ เทคโนโลยีสารสนเทศและไซเบอร์/ พัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศและรักษา ความสงบภายในและความมั่นคงระหว่างประเทศ พัฒนาข่าวกรอง/ระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ/ ระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ ให้มีประสิทธิภาพ สนับสนุนงานศึกษา วิจัย พัฒนาด้านความมั่นคง 6. การเพิ่มประสิทธิภาพและ ธรรมาภิบาลในภาครัฐ เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการ ภาครัฐ ให้บริการผ่านเครือข่าย อิเล็กทรอนิกส์ (E-government) ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณและ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ติดตามตรวจสอบการเงินการคลัง ภาครัฐ ปรับโครงสร้างการบริหารงานท้องถิ่น ให้เอื้อต่อการกระจายอำนาจที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ป้องกันและปราบปรามทุจริต คอร์รัปชั่น 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและ เป็นธรรม บริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อมโดย เร่งรัด : ขยะ ก๊าซเรือนกระจก ลดการใช้พลังงาน ยกระดับความสามารถในการป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ต่อ) 12

13 พัฒนาและบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความ สะดวก : ด้านคมนาคมขนส่ง (ระบบราง) เชื่อมโยงเครือข่ายโทรคมนาคม/การเดินทางและขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศที่ได้มาตรฐาน พัฒนาความมั่นคงด้านพลังงานและการผลิตพลังงานทดแทน สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิตอล ลดความเหลื่อมล้ำการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาระบบโลจิสติกส์ : ส่งเสริมผู้ประกอบการในการสร้าง เครือข่ายการขนส่งระหว่างประเทศ/พัฒนาบุคลากรด้าน โลจิสติกส์ ปรับปรุงระบบบริหารการจัดการ กฎหมาย และระเบียบที่ เกี่ยวข้อง 7. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์ 8. ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม เพิ่มการลงทุนวิจัยและพัฒนา ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ฯ : บุคลากรวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน และบริหารจัดการ เสริมสร้างสังคมที่มีตรรกะทางความคิด ทุนทาง ปัญญา บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ ความสมดุล สนับสนุนให้เกิดกลไกบูรณาการระหว่างหน่วยงาน และองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ต่อ) 13

14 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ต่อ) สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่รองรับการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาคให้เป็น เมืองน่าอยู่และปลอดภัยสนับสนุนการเชื่อมโยงใน ภูมิภาค พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจหลักบริเวณชายฝั่งทะเล ตะวันออก พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน เชื่อมโยงกับ การพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมและบริการที่มี ศักยภาพ และโครงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึกทวาย ดูแลการดำเนินงานตามข้อผูกพันและพันธกรณี ตลอดจน มาตรฐานต่างๆ ในฐานนะประเทศสมาชิก ทั้งเวทีระดับโลก ภูมิภาคและอนุภูมิภาคให้เข้าสู่มาตรฐานสากล : SDGs/ ประมง/ การค้ามนุษย์ เสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างประเทศในอนุภูมิภาค ประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานประกอบธุรกิจ/ให้บริการ ทางการศึกษา การเงิน สุขภาพ ลิจิสติกส์ การลงทุน เพื่อ วิจัยและพัฒนา 9. การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ10. ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค 14

15 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย 15

16 16 (เอกสารแนบท้ายหน้า 26)

17 1. การเสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพทุนมนุษย์ 1)พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ช่วงการตั้งครรภ์/แรกเกิด/ปฐมวัย มีการส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กและพัฒนาการที่สมวัยทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม วัยเรียน/วัยรุ่น/นักศึกษา ให้มีความรู้สอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ทั้งทักษะ การเรียนรู้ในเชิงคิดสังเคราะห์ สร้างสรรค์ ต่อยอดไปสู่การสร้างนวัตกรรมความรู้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะ สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี วัยแรงงาน ให้มีการพัฒนาสมรรถนะและทักษะแรงงานให้สอดคล้องกับ วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีทักษะ ทางด้านภาษา ความคิดสร้างสรรค์ วัยผู้สูงอายุ ให้มีการทำงาน ที่เหมาะสมตามศักยภาพและประสบการณ์ มีรายได้เพียงพอในการดำรงชีวิต มีการสร้าง เสริมและฟื้นฟูสุขภาพ เพื่อป้องกันหรือชะลอความทุพพลภาพและโรคเรื้อรังต่างๆ 2)ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนรู้ที่เป็นการคิด วิเคราะห์ที่เป็นการบูรณาการระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆ ปฏิรูประบบการเรียนรู้ โดยวางระบบโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีในชุมชน พัฒนาสื่อสำหรับ การเรียนรู้รวมทั้งการ สนับสนุนระบบการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน 3)สร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อสังคมสูงวัย การพัฒนาการบริหารจัดการในระบบสุขภาพ โดยพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ในการบริหารทรัพยากรด้าน สาธารณสุข เพื่อลดความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ 3 กองทุน การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ 4)การป้องกันและควบคุมปัจจัยทางสังคมที่กำหนดสุขภาพเพื่อสร้างสุขภาวะทีดี พัฒนารูปแบบการกีฬาเพื่อสุขภาพและ การพัฒนาด้านโภชนาการที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย การเผยแพร่ความรู้ด้าน สุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งเสริมการให้ความสำคัญกับ มิติสุขภาพในทุกนโยบายสาธารณะ (Health in All Policies) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย 17

18 2. การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 1)การเข้าถึงบริการทางสังคมของรัฐอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง และเป็นธรรม 2)การจัดรูปแบบบริการสุขภาพและสวัสดิการสังคมขั้นพื้นฐานที่จำเป็นและเหมาะสม ตามกลุ่มเป้าหมาย (Customized Welfare) ที่คำนึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ที่แตกต่างกัน โดยมีแนวทางการรับภาระค่าใช้จ่ายร่วมกัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 18

19 1) บริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ บูรณาการระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นระบบ 2) แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อมโดยเร่งรัด : ขยะ ก๊าซเรือนกระจก เร่งรัดการ ควบคุมมลพิษทั้งทางอากาศ ขยะ น้ําเสีย และของเสียอันตราย ที่เกิดจากการผลิตและบริโภค 3) ลดการใช้พลังงาน เพื่อปรับตัวไปสู่รูปแบบของการผลิตและการบริโภคคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มากขึ้น ส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงานและการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในทุกภาคส่วนและการพัฒนา พลังงานทดแทนของ ประเทศ 4) ยกระดับความสามารถในการป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ เพิ่มศักยภาพในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้กับทุกภาคส่วน บูรณาการการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเข้าสู่กระบวนการวางแผน เสริมสร้างขีดความสามารถในการเตรียมความพร้อมและการรับมือภัยพิบัติ พัฒนาระบบการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 19

20 5. ด้านความมั่นคง 1) สร้างความเชื่อมั่นและพัฒนาความร่วมมือในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลก ผลักดันการจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของอาเซียน หา แนวทางความร่วมมือกับอาเซียนและอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในประเด็นการขนส่งข้ามพรมแดน การ เคลื่อนย้ายแรงงาน การบริหาร จัดการพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาหมอกควัน ข้ามแดน สร้างความรู้ความเข้าใจและ แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศให้กับ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทบทวนกฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศด้านการค้าและสิ่งแวดล้อมตามความเหมาะสม 2) สร้างความมั่นคง :ด้านอาหาร พลังงาน และน้ำ การจัดระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และความต้องการของตลาด ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ 3)พัฒนาระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ ให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 20

21 6. การเพิ่มประสิทธิภาพและ ธรรมาภิบาลในภาครัฐ 1)เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการภาครัฐ ให้บริการผ่านเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ (E-government) 2)ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการติดตาม ตรวจสอบการเงินการคลังภาครัฐ 3)ป้องกันและปราบปรามทุจริตคอร์รัปชั่น ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 21

22 8. ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 1)เพิ่มการลงทุนวิจัยและพัฒนา ขยายการลงทุนด้านการวิจัยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการร่วมลงทุนด้านการ วิจัยพัฒนาระหว่างรัฐและเอกชน ส่งเสริมให้โครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศต้องเชื่อมโยงกับการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศ อาทิ การแพทย์และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ การจัดการน้ำและขยะ ส่งเสริม การจัดทำ Technology Road Map เพื่อจัดลำดับกิจกรรมวิจัยพัฒนาสำหรับอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์และ เทคโนโลยีเป้าหมายที่ต้องพัฒนา รวมทั้งผลักดันให้เกิดการวิจัยพัฒนาทั่วถึง 2)ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ฯ : บุคลากรวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน และบริหาร จัดการ 3)สนับสนุนให้เกิดกลไกบูรณาการระหว่างหน่วยงานและองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 22

23 1)สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2)พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาคให้เป็นเมืองน่าอยู่และปลอดภัย สนับสนุนการเชื่อมโยงในภูมิภาค มีการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองตามมาตรฐาน 3)พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน 9. การพัฒนาภาค เมือง และ พื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 23

24 ดูแลการดำเนินงานตามข้อผูกพันและพันธกรณี ตลอดจนมาตรฐานต่างๆ ในฐานนะ ประเทศสมาชิก ทั้งเวทีระดับโลก ภูมิภาคและอนุภูมิภาคให้เข้าสู่มาตรฐานสากล : SDGs เสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานประกอบธุรกิจ/ให้บริการทางสุขภาพ 10. ด้านการต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศฯ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย (ต่อ) 24

25 ขอบคุณและสวัสดี 25

26 26 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนงานสาธารณสุขฯ และโครงการกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนงานสาธารณสุขฯ และโครงการกรมอนามัย

27 27


ดาวน์โหลด ppt ความเชื่อมโยงกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีฯ กรอบทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 และยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องของกรมอนามัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google