งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับ

2 ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขสาธารณสุขนิเทศก์และคณะผู้นิเทศทุกท่าน

3 ข้อมูลทั่วไป

4 อ. หัวหิน อ. ปราณบุรี อ. สามร้อยยอด อ. กุยบุรี อ. เมืองฯ อ. ทับสะแก อ. บางสะพาน อ. บางสะพาน น้อย ประเทศเมียนมา อ่าวไทย อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี อ.ปะทิว จ.ชุมพร

5 ชายหญิงรวม แยกตาม เพศ 260,580264,527525,107 ร้อยละ49.6250.38100.00 โครงสร้างประชากร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ เปรียบเทียบระหว่างทะเบียนราษฎร์ และDbpop ชายหญิงรวม แยกตาม เพศ 211,286226,443437,729 ร้อยละ48.2751.73100.00 ทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.2557 Dbpop type 1,3 ณ 30 กย.2558 กลุ่ม อายุ

6 ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข

7 บางสะพาน บางสะพานน้อย หัวหิน กุยบุรี เมืองประจวบคีรีขันธ์ ปราณบุรี สามร้อยยอด ทับสะแก ร.พ.ประจวบคีรีขันธ์ 278 เตียง ร.พ.หัวหิน 340 เตียง ร.พ.บางสะพาน 90 เตียง ร.พ.ทับสะแก 60 เตียง ร.พ.ปราณบุรี 60 เตียง ร.พ.สามร้อยยอด 60 เตียง ร.พ.กุยบุรี 30 เตียง ร.พ.บางสะพานน้อย 30 เตียง รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล (สถานีอนามัย) 81 แห่ง รพ.ค่ายธนะรัชต์ 150 เตียง รพ. กองบิน 5 30 เตียง สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ 30 เตียง โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาล สังกัดกลาโหม โรงพยาบาล เอกชน สถานพยาบาล เอกชน สถานีกาชาด รวม 1,337 เตียง 25.46 เตียง : ประชากร 10,000 คน 18.53 เตียง : ประชากร 10,000 คน (เฉพาะ สธ)

8 ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงพยาบาล ระ ดับ ปชก. อัตรา ครอง เตียง แพทย์ แพทย์ เฉพาะ ทาง ทันต แพทย์ เภสัชกรพยาบาล หัวหิน (340)S106,261104.1645(2) 1323275 ประจวบคีรีขันธ์ (278) S89,46577.0827(4) 716235 บางสะพาน (90) M274,269124.731313659103 ปราณบุรี(60)F276,44873.23623658 สามร้อยยอด (60) F248,22387.74714557 ทับสะแก (60)F248,37370.54715555 กุยบุรี(30)F244,26277.66403244 บางพานน้อย (30) F237,80699.12412334 รวม 525,107113(6)85 (6)4269861 สัดส่วน : ปชก. 1:44131:5770 1:125021:76101:610

9 ข้อมูลสถานะสุขภาพ

10 ตาราง แสดงอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด จำแนกตามเพศ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2548-2557 เป้าหมาย ประเทศอายุคาดเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 80 ปี

11 อัตราเกิดมีชีพต่อประชากรพันคนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เทียบกับประเทศ ปี พ.ศ. 2548 – 2558

12 อัตราตายต่อประชากรพันคนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เทียบกับประเทศ ปี พ.ศ. 2548 – 2557 อัตราต่อพันประชากร

13 อัตรามารดาตาย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปรียบเทียบกับมารดาตาย ระดับประเทศ ปี พ.ศ. 2548-2558

14 ตาราง สาเหตุการตายตามกลุ่มสาเหตุป่วย ต่อประชากรแสนคนปี พ.ศ.2556 – 2558 ตาราง สาเหตุการตายตามกลุ่มสาเหตุป่วย ต่อประชากรแสนคนปี พ.ศ.2556 – 2558

15 ร้อยละของผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งจำแนกรายชนิด ในปี 2556-2558

16 อัตราตายต่อประชากรแสนคนของผู้ป่วยมะเร็งแยกรายอำเภอ ปี 2556-2558

17 อัตราทารกตายต่อเกิดมีชีพพันคนจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์เทียบกับประเทศ ปี พ.ศ. 2548 – 2558

18 สาเหตุการตายของทารกจำแนกรายปี ราย

19 อัตราเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีตายต่อเกิดมีชีพพันคนจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์เทียบกับประเทศ ปี พ.ศ. 2550 – 2557

20 สาเหตุการตายของเด็ก 1-5 ปีจำแนกรายปี ราย

21 สาเหตุการป่วยผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุป่วย ต่อประชากรพันคนปี พ.ศ.2555-2558 สาเหตุการป่วยผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุป่วย ต่อประชากรพันคนปี พ.ศ.2555-2558 อัตราต่อพันประชากร

22 สาเหตุการป่วยผู้ป่วยในจำแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วยของประชาชนต่อ ประชากรแสนคน ปี พ.ศ. 2555-2558 อัตราต่อแสนประชากร

23 ผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 58 จ.ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน ราย ข้อมูล 1 ม. ค.58 – 28 ธ. ค.58 23

24

25 การจัดทำแผนสุขภาพ รับนโยบายจากกระทรวงสาธารณสุข /เขตบริการสุขภาพ ผู้บริหารระดับจังหวัด (นพ.สสจ.) กำหนดนโยบายและ แนวทางการจัดสรรงบประมาณ มอบนโยบายแก่ผู้บริหารและ ผู้เกี่ยวข้องระดับจังหวัดและ อำเภอ ผู้จัดการแผนงานระดับจังหวัด จัดทำกรอบแผนสุขภาพจังหวัด ผู้จัดการแผน/ผู้เกี่ยวข้อง ระดับจังหวัดและผู้จัดการ แผนอำเภอร่วมทำแผน สุขภาพจังหวัด/อำเภอ แผนสุขภาพจังหวัด/อำเภอ 1.สถานการณ์ปัญหา 2.สรุปสภาพ/ประเด็นปัญหาที่ สำคัญ พร้อมสาเหตุ 3. ผลลัพธ์ที่ต้องการ 4.มาตรการสำคัญ 5.กิจกรรมหลัก 6.ตัวชี้วัดและเป้าหมาย แผนปฏิบัติการจังหวัด/ อำเภอ/น่วยบริการ 7.แผนงาน/โครงการ 8.กิจกรรมระดับจังหวัด 9. กิจกรรมระดับอำเภอ 10.งบประมาณแยกราย แหล่ง/รายมาตรการ/ รายแผน/รายแห่ง

26 บริการ สส ปก บริหาร พัฒนาบริการ 12 สาขา พัฒนาระบบส่งต่อ คุณภาพบริการ การดูแลสุขภาพต่าง ด้าว/ชนกลุ่มน้อย สุขภาพสตรี และเด็ก 0-5 สุขภาพเด็กวัยเรียน การบริหารการเงินการคลัง การพัฒนาบุคลากร การบริหารระบบข้อมูล ระบบธรรมาภิบาล สุขภาพวัยรุ่น สุขภาพวัยทำงาน สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน ยาเสพติด โครงการพระราชดำริ สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ การบริหารเวชภัณฑ์ โครงสร้างแผนสุขภาพ ปี 59

27 การกำกับ ติดตามประเมินผล การแบ่งการมอบหมายงาน ผู้บริหาร ระบบ Data Center การประชุมผู้บริหาร การตรวจเยี่ยม รพ.,สสอ. การนิเทศ กำกับ ติดตามในพื้นที่

28 การบริหารจัดการระบบข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ เพื่อกำกับติดตามงาน ปีงบประมาณ 2559 กระทรวง HDC on CLOUD province HDC service..รายงาน HDC DB กรม/กองอื่นๆ HDC SSJ Web report นโยบาย นพ.สสจ. ความต้องการของ PM. สสจ.ปข. เป้าหมาย ผลงาน ตรวจสอบ เขตสุขภาพ ตรวจ ราชการ ของขวัญ น่าสนใจPA 43 แฟ้ม Up loads Hos xp/Hos OS/ Medical2022/ PJ Hos/Mit-Net/ SME HIM JHCIS datacenter JHCIS รพ.สต. สสอ. รพ.

29 29

30 คณะที่ ๑ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค

31 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย

32 หัวข้อ:กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและ ระบบควบคุมโรค

33 อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) หมายเหตุ ปี 54,55 เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ที่มาข้อมูล : รายงานแม่และเด็กไทย เก็บจากห้องคลอดรพ. สถานการณ์ ปี 2554 มารดาเสียชีวิต 1ราย สาเหตุ Amniotic fluid embolism ปี 2555 มารดาเสียชีวิต 1ราย สาเหตุ PPH ปี 2558 มารดาเสียชีวิต 1ราย สาเหตุ Cardiac arrest (มีประวัติเป็น Venticular Septal defect ) :แสนLB

34 ผลการดำเนินงาน การฝากครรภ์ :ฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เป้าหมายผลงานร้อยละ 6,0312,75645.70 (HDC) 55.60 20.54 54.79 34.36 38.87 38.49 40.89 39.91 ร้อยละ ที่มาข้อมูล :โปรแกรมHDC ณ วันที่ 27 ม.ค.59 เวลา 17.45 น. เป้าหมาย ปีงบ 2559 (3 เดือน) เป้าหมายผลงานร้อยละ 1,88182443.81 (HDC) 974 ( ไทย ใน เขต) 57458.93 260 (ต่างด้าว) 5521.15 647 (นอกพท.) 19530.14 51.26 16.33 61.05 33.93 37.61 34.43 43.94 26.53 ปี 2558 การแก้ไขปัญหา - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ - จัดบริการเชิงรุกในพื้นที่ห่างไกล/สถาน ประกอบการ - อสม./FCT ติดตามเยี่ยม -ขยายเวลาบริการใน รพ. -จัดบริการใน รพ.สต.ที่มีพยาบาล เกณฑ์ 60 % สาเหตุ 1.) ไม่ทราบ ไม่แน่ใจว่าตั้งครรภ์ (ร้อยละ31.40 ) 2.) ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการฝาก ครรภ์เร็ว โดยเฉพาะครรภ์ที่ 2งาน/อาชีพ (ร้อยละ 20.60) 3.) กลุ่มปกปิดการตั้งครรภ์ วัยรุ่น (ร้อยละ 32.50 )

35 ผลการดำเนินงาน การฝากครรภ์ :ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เป้าหมายผลงานร้อยละ 3,6541,82450.03 (HDC) 55.01 34.11 55.43 42.63 56.29 53.11 47.44 48.09 เป้าหมายผลงาน ร้อยละ 1,00846345.46 (HDC) 49.42 32.38 61.82 38.82 58.96 32.88 40.96 38.36 เป้าห มาย เกณฑ์ 60 % สาเหตุ - ฝากครรภ์ครั้งแรก ล่าช้าจึงไม่ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ปี 2558 ปีงบ 2559 (3 เดือน) การแก้ไขปัญหา - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ - จัดบริการเชิงรุกในพื้นที่ ห่างไกล/สถานประกอบการ - อสม./FCT ติดตามเยี่ยม -ขยายเวลาบริการใน รพ. -จัดบริการใน รพ.สต.ที่มีพยาบาล ที่มาข้อมูล :โปรแกรมHDC ณ วันที่ 27 ม.ค.59 เวลา 17.45 น.

36 : ฝากครรภ์ช้า / ไม่ฝากครรภ์ มาตรการแก้ไขปัญหา มาตรการ: 1. ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและ ติดตามให้ฝากครรภ์ครบครั้งตามเกณฑ์ คุณภาพ 2. วิเคราะห์ปัญหาพื้นที หาสาเหตุและแก้ไข ปัญหา (เน้น อ.ปราณบุรี และทุกอำเภอ) 3. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ทุกรูปแบบ 4. จัดบริการเชิงรุกเข้าหากลุ่มเป้าหมายใน พื้นที่ห่างไกล,สถานประกอบการ 5. จัดบริการรับฝากครรภ์ในรพสต. ที่มี พยาบาล ปี59 มอบนโยบาย ทุกแห่งเปิด บริการ 6. พัฒนาระบบรายงานข้อมูล43 แฟ้มให้ ตรงกับรายงานทะเบียน มาตรการ: 1. ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและ ติดตามให้ฝากครรภ์ครบครั้งตามเกณฑ์ คุณภาพ 2. วิเคราะห์ปัญหาพื้นที หาสาเหตุและแก้ไข ปัญหา (เน้น อ.ปราณบุรี และทุกอำเภอ) 3. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ทุกรูปแบบ 4. จัดบริการเชิงรุกเข้าหากลุ่มเป้าหมายใน พื้นที่ห่างไกล,สถานประกอบการ 5. จัดบริการรับฝากครรภ์ในรพสต. ที่มี พยาบาล ปี59 มอบนโยบาย ทุกแห่งเปิด บริการ 6. พัฒนาระบบรายงานข้อมูล43 แฟ้มให้ ตรงกับรายงานทะเบียน กลไกการกำกับติดตาม ระดับจังหวัด -ประชุม MCH.Board -ประชุม PM ติดตามงาน 3 ครั้ง/ปี -นิเทศ ติดตาม ในพื้นที่ ระดับอำเภอ - MCH.Board - PCT สูติ-เด็ก - นิเทศ/ติดตามโดย MCH.Manager ระดับอำเภอ กลไกการกำกับติดตาม ระดับจังหวัด -ประชุม MCH.Board -ประชุม PM ติดตามงาน 3 ครั้ง/ปี -นิเทศ ติดตาม ในพื้นที่ ระดับอำเภอ - MCH.Board - PCT สูติ-เด็ก - นิเทศ/ติดตามโดย MCH.Manager ระดับอำเภอ

37 : ทารกแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ 18.98 22.22 10.36 0 0 พันเกิดมีชีพ 13.16 0 40.65 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ที่มาข้อมูล : รายงานแม่และเด็กไทย เก็บจากห้องคลอด รพ. เป้าหมายผลงานร้อยละ 5,61211821.03 ผลการดำเนินงาน สาเหตุภาวะขาดออกซิเจน 1.ปัจจัยจากตัวเด็ก 31.62 % 2.ปัจจัยจากการคลอด 25.64 % 3.ปัจจัยด้านรก น้ำคร่ำ สายสะดือ 22.22 % 4.ปัจจัยทางมารดา และการ ตั้งครรภ์ 14.53 % 5.ไม่ทราบสาเหตุ 5.13 % เป้าหมาย ปี 2558 เป้าหมายผลงานร้อยละ 1,5123221.16 ปีงบ 2559 (3 เดือน) 20.83 17.65 32.26 25.21 26.88 10.10 6.37 11.63 การแก้ไขปัญหา -ทบทวนแนวทางการคัด กรองภาวะเสี่ยงในระยะ คลอด -ประเมินทารกในครรภ์ทุก รายในระยะคลอดด้วย Fetal Monitor เพื่อประเมินสภาวะ ทารกในครรภ์ เกณฑ์ 25 : 1000

38 0.44 9.21 0 2.45 4.44 0.52 5.88 : ภาวะตกเลือดหลังคลอดไม่เกินเกณฑ์ ร้อยละ 5 4.94 ร้อยละ ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ที่มาข้อมูล : รายงานแม่และเด็กไทย เก็บจากห้องคลอด รพ. เป้าหมายผลงานร้อยละ 1,508281.86 ผลการดำเนินงาน สาเหตุตกเลือดหลังคลอด ปี 58 1.มดลูกไม่หดรัดตัว ร้อยละ 54.55 2.รกค้าง/รกติด ร้อยละ 31.17 3.ภาวะฉีกขาดทางช่องคลอด ร้อยละ 5.19 4. ภาวะซีด ร้อยละ 9.09 มาตรการ 1.ห้องคลอดคุณภาพ เน้นพื้นที่ อ.สามร้อยยอด,ปราณบุรี 2.ทบทวนแนวทาง ฟื้นฟูความรู้การ ทำคลอดรก การตรวจรก 3. นำร่องการใช้ถุงตวงเลือด (รพ.ปราณบุรี) มาตรการ 1.ห้องคลอดคุณภาพ เน้นพื้นที่ อ.สามร้อยยอด,ปราณบุรี 2.ทบทวนแนวทาง ฟื้นฟูความรู้การ ทำคลอดรก การตรวจรก 3. นำร่องการใช้ถุงตวงเลือด (รพ.ปราณบุรี) เป้าหมายผลงานร้อยละ 5,599771.38 ปี 2558 เกณฑ์ ไม่เกิน 5 % 0.12 5.59 3.94 0.84 1.88 2.51 1.06 2.91

39 1.มีระบบบริหารจัดการ ดูแลสุขภาพแม่ 1.1) มีเจ้าภาพหลัก (MCH manager) ระดับจังหวัด/อำเภอ 1.2) มี MCH.Board 1.3 ) มีการประชุมPM ควบคุม กำกับ 1.4) จัดโซนนิ่ง และระบบส่งต่อ -รพท. มีคลินิกHigh risk - ระบบส่งต่อแบ่งเป็น 2 โซน โซนเหนือ : รพ.หัวหิน แม่ข่าย โซนใต้ : รพ.ประจวบฯ แม่ข่าย 1.5) ทบทวนCPG และจัดระบบ เฝ้าระวังความเสี่ยง 1.6) ส่งต่อข้อมูล รพ.สต. เพื่อ ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์/ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง 1.มีระบบบริหารจัดการ ดูแลสุขภาพแม่ 1.1) มีเจ้าภาพหลัก (MCH manager) ระดับจังหวัด/อำเภอ 1.2) มี MCH.Board 1.3 ) มีการประชุมPM ควบคุม กำกับ 1.4) จัดโซนนิ่ง และระบบส่งต่อ -รพท. มีคลินิกHigh risk - ระบบส่งต่อแบ่งเป็น 2 โซน โซนเหนือ : รพ.หัวหิน แม่ข่าย โซนใต้ : รพ.ประจวบฯ แม่ข่าย 1.5) ทบทวนCPG และจัดระบบ เฝ้าระวังความเสี่ยง 1.6) ส่งต่อข้อมูล รพ.สต. เพื่อ ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์/ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ระบบและกลไกในการป้องกันมารดาและทารกตาย 2.จัดการระบบข้อมูลการ ตาย 2.1 วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ ความเสี่ยงเพื่อวางแผนแก้ไขใน ประชุมกลุ่มวัย 2.2 สืบสวนการตาย (ก1-CE) ก2,43 แฟ้ม 2.3) Conference case กรณีแม่เสียชีวิต ภายใน 1 เดือน 2.จัดการระบบข้อมูลการ ตาย 2.1 วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ ความเสี่ยงเพื่อวางแผนแก้ไขใน ประชุมกลุ่มวัย 2.2 สืบสวนการตาย (ก1-CE) ก2,43 แฟ้ม 2.3) Conference case กรณีแม่เสียชีวิต ภายใน 1 เดือน 3. ส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยง มารดา 3.1) ANC เชิงรุก 3.2) เน้นระบบการนัด/ติดตาม 3.3) โรงเรียนพ่อแม่คุณภาพใน คลินิกANC/PP 3.4) เน้นให้หญิงตั้งครรภ์รับ/กิน ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก,ไอโอดีน/ เกลือเสริมไอโอดีน 3.5 ) ทีมหมอครอบครัวติดตาม เยี่ยม 3. ส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยง มารดา 3.1) ANC เชิงรุก 3.2) เน้นระบบการนัด/ติดตาม 3.3) โรงเรียนพ่อแม่คุณภาพใน คลินิกANC/PP 3.4) เน้นให้หญิงตั้งครรภ์รับ/กิน ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก,ไอโอดีน/ เกลือเสริมไอโอดีน 3.5 ) ทีมหมอครอบครัวติดตาม เยี่ยม 4. จัดบริการที่มีคุณภาพ 4.1) ANC คุณภาพ / LR คุณภาพ 4.2) เพิ่มวันในการให้บริการฝากครรภ์ (รพ/รพ.สต.) 4.3) นิเทศ/ประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก 4. จัดบริการที่มีคุณภาพ 4.1) ANC คุณภาพ / LR คุณภาพ 4.2) เพิ่มวันในการให้บริการฝากครรภ์ (รพ/รพ.สต.) 4.3) นิเทศ/ประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก

40 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและ ระบบควบคุมโรค กลุ่มเด็ก 0-5 ปี

41 ตัวชี้วัด 1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 2. เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการตามวัย(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) 3. เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินพัฒนาการและพบ พัฒนาการสงสัยล่าช้า (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) 4. เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ (ร้อยละ100) ผลผลิต ช่วง 3 เดือน 1.จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก2.สนับสนุนคู่มือ แนวทาง โปรแกรมประเมิน มาตรฐาน อบรมทีม - จังหวัดมีการวางแนวทางในการดำเนินงานเพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กและระบบส่งต่อ -ประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน การพัฒนาเด็กปฐมวัย - เร่งรัดการค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า และติดตามกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง - เน้นคุณภาพ ของโรงเรียนพ่อแม่ใน WCC -จังหวัดได้จัดอบรมการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ด้วยเครื่องมือ DSPM ให้แก่เจ้าหน้า รพ. และ รพ.สต. ครบทุกแห่ง - จังหวัดได้จัดสรรเครื่องมือประเมินพัฒนาการ ให้แก่สถานบริการสุขภาพในจังหวัด พร้อมคู่มือ การประเมินพัฒนาการ DSPM และ DAIM แก่ รพ. และ รพ.สต.ทุกแห่ง Small Success 3 เดือน Small Success 3 เดือน

42 ได้รับการตรวจพัฒนาการ เป้าหมาย 80 % 63.09 67.12 87.66 90.63 68.82 87.66 91.11 86.47 87.34 96.08 93.41 92.11 87.32 100.00 95.92 93.55 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 84176090.37 เด็กอายุ 9 เดือน เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 5,1003,94877.41 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง การแก้ไขปัญหา - สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย จัดบริการเชิงรุกถึงบ้าน - แยกวันเวลาให้บริการจาก การฉีดวัคซีน - เก็บรวบรวมความครอบคลุม การได้รับบริการของเด็กใน พื้นที่ทุกราย ปี 2558 คัดกรองไม่ได้ตามเป้าหมาย เพราะ - ผู้ปกครองกลัวไม่ยอมพาเด็ก มารับการตรวจ - เด็กไม่อยู่ในพื้นที่ - การบริหารจัดการของ เจ้าหน้าที่ (ให้บริการร่วมกับวัน ฉีดวัคซีน ใช้เวลาในการตรวจ ประเมินนาน) - ทักษะในการใช้เครื่องมือ - ไม่ได้เก็บข้อมูลเด็กที่รับ บริการที่อื่น

43 95.55 100.00 93.97 86.95 86.76 84.73 99.36 99.39 เด็กมีพัฒนาการตามวัย เป้าหมาย 85 % 87.34 96.08 93.41 92.11 87.32 100.00 95.92 93.55 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายผลงานร้อยละ 3,9483,74594.86 เด็กอายุ 9 เดือน เป้าหมายสมวัยร้อยละ 76071393.82 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 เด็กสงสัยล่าช้าด้าน ต่างๆ (คน) 47 - ด้านการ เคลื่อนไหว (GM) 14 - ด้านกล้ามเนื้อมัด เล็กและสติปัญญา (FM) 12 - ด้านการใช้ภาษา (RL) 7 - ด้านการเข้าใจ ภาษา (EL) 12 - ด้านการ ช่วยเหลือตนเอง (PS) 5 สมวัยหลังได้รับการ กระตุ้นครบ 1 เดือน (คน) 38 ร้อยละ 80.85 เด็กที่สงสัย พัฒนาการล่าช้า (คน) 9 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง ปี 2558

44 ได้รับการตรวจพัฒนาการ เป้าหมาย 80 % 85.00 84.19 83.43 72.24 98.46 89.89 98.90 86.37 54.75 80.77 95.19 90.80 90.00 100.00 95.18 100.00 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 1,08392084.95 เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 4,6614,09987.94 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง เด็กอายุ 18 เดือน ปี 2558 คัดกรองไม่ได้ตามเป้าหมาย เพราะ - ผู้ปกครองกลัวไม่ยอมพาเด็ก มารับการตรวจ - เด็กไม่อยู่ในพื้นที่ - การบริหารจัดการของ เจ้าหน้าที่ (ให้บริการร่วมกับวัน ฉีดวัคซีน ใช้เวลาในการตรวจ ประเมินนาน) - ทักษะในการใช้เครื่องมือ - ไม่ได้เก็บข้อมูลเด็กที่รับ บริการที่อื่น การแก้ไขปัญหา - สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย จัดบริการเชิงรุกถึงบ้าน - แยกวันเวลาให้บริการจาก การฉีดวัคซีน - เก็บรวบรวมความครอบคลุม การได้รับบริการของเด็กใน พื้นที่ทุกราย

45 95.37 100.00 92.49 87.95 87.73 88.76 97.78 99.06 เด็กมีพัฒนาการตามวัย เป้าหมาย 85 % 95.92 94.76 86.87 88.61 88.89 99.11 96.20 92.31 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายผลงานร้อยละ 4,0993,89895.10 เป้าหมายสมวัยร้อยละ 92086093.48 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 เด็กสงสัยล่าช้าด้าน ต่างๆ (คน) 58 - ด้านการเคลื่อนไหว (GM) 9 - ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก และสติปัญญา (FM) 24 - ด้านการใช้ภาษา (RL) 23 - ด้านการเข้าใจภาษา (EL) 21 - ด้านการช่วยเหลือ ตนเอง (PS) 3 สมวัยหลังได้รับการ กระตุ้นครบ 1 เดือน (คน) 41 ร้อยละ70.69 เด็กที่สงสัยพัฒนาการ ล่าช้า(คน) 17 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง เด็กอายุ 18 เดือน ปี 2558

46 ได้รับการตรวจพัฒนาการ เป้าหมาย 80 % 55.39 67.54 78.96 69.31 82.07 97.38 70.58 78.63 50.61 77.38 89.60 82.35 96.23 100.00 99.40 100.00 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 1,06689583.96 เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 6,5284,70372.04 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง เด็กอายุ 30 เดือน ปี 2558 การแก้ไขปัญหา - สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย จัดบริการเชิงรุกถึงบ้าน - แยกวันเวลาให้บริการจาก การฉีดวัคซีน - เก็บรวบรวมความครอบคลุม การได้รับบริการของเด็กใน พื้นที่ทุกราย คัดกรองไม่ได้ตามเป้าหมาย เพราะ - ผู้ปกครองกลัวไม่ยอมพาเด็ก มารับการตรวจ - เด็กไม่อยู่ในพื้นที่ - การบริหารจัดการของ เจ้าหน้าที่ (ให้บริการร่วมกับวัน ฉีดวัคซีน ใช้เวลาในการตรวจ ประเมินนาน) - ทักษะในการใช้เครื่องมือ - ไม่ได้เก็บข้อมูลเด็กที่รับ บริการที่อื่น

47 94.03 100.00 99.23 85.48 85.43 97.31 98.74 98.97 เด็กมีพัฒนาการตามวัย เป้าหมาย 85 % 93.98 93.85 86.61 91.43 89.22 100.00 93.98 92.86 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายผลงานร้อยละ 4,7034,51596.00 เป้าหมายสมวัยร้อยละ 89583192.85 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 เด็กสงสัยล่าช้าด้าน ต่างๆ (คน) 64 - ด้านการ เคลื่อนไหว (GM) 14 - ด้านกล้ามเนื้อมัด เล็กและสติปัญญา (FM) 18 - ด้านการใช้ภาษา (RL) 30 - ด้านการเข้าใจ ภาษา (EL) 25 - ด้านการ ช่วยเหลือตนเอง (PS) 6 สมวัยหลังได้รับการ กระตุ้นครบ 1 เดือน (คน) 42 ร้อยละ65.63 เด็กที่สงสัย พัฒนาการล่าช้า (คน) 22 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง เด็กอายุ 30 เดือน ปี 2558

48 ได้รับการตรวจพัฒนาการ เป้าหมาย 80 % 54.65 92.42 51.35 69.28 73.27 95.23 74.34 70.26 53.67 69.89 86.18 80.17 80.95 100.00 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 1,21098080.99 เป้าหมายความ ครอบคลุม ร้อยละ 6,6864,94874.01 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง คัดกรองไม่ได้ตามเป้าหมาย เพราะ - ไม่ได้คัดกรองในกลุ่มเด็กที่ อยู่ในโรงเรียนอนุบาล การแก้ไขปัญหา -กำหนดให้มีการคัดกรองใน โรงเรียนอนุบาลและศูนย์เด็ก เล็กทุกแห่ง -จัดทำฐานข้อมูลรายชื่อเด็ก ทุกคนเพื่อการติดตามคัดกรอง ปี 2558 เด็กอายุ 42 เดือน

49 86.04 100.00 97.02 90.15 88.22 96.99 97.41 98.84 เด็กมีพัฒนาการตามวัย เป้าหมาย 85 % 94.74 98.97 87.79 94.62 82.35 98.54 95.91 87.67 การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก เป้าหมายผลงานร้อยละ 4,9484,73395.65 เป้าหมายสมวัยร้อยละ 98091993.78 ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 เด็กสงสัยล่าช้าด้าน ต่างๆ (คน) 64 - ด้านการ เคลื่อนไหว (GM) 8 - ด้านกล้ามเนื้อมัด เล็กและสติปัญญา (FM) 18 - ด้านการใช้ภาษา (RL) 31 - ด้านการเข้าใจ ภาษา (EL) 22 - ด้านการ ช่วยเหลือตนเอง (PS) 16 สมวัยหลังได้รับการ กระตุ้นครบ 1 เดือน (คน) 40 ร้อยละ65.57 เด็กที่สงสัย พัฒนาการล่าช้า (คน) 21 ที่มาข้อมูล : รายงานจาก รพ.และ รพ.สต.ทุกแห่ง ปี 2558 เด็กอายุ 42 เดือน

50 รายการ อายุ รวม 9 เดือน18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน เด็กสงสัยล่าช้าด้านต่างๆ (คน)47586461230 - ด้านการเคลื่อนไหว (GM) 149 8 - ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (FM) 122418 - ด้านการใช้ภาษา (RL) 7233031 - ด้านการเข้าใจภาษา (EL) 12212522 - ด้านการช่วยเหลือตนเอง (PS) 5361616 สมวัยหลังได้รับการกระตุ้นครบ 1 เดือน (คน) 38414240161 คิดเป็นร้อยละ 80.8570.6965.6365.5770.0 เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า(คน)917222169 พัฒนาการสงสัยล่าช้า 4 กลุ่มอายุ เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าจำนวน 69 คน ได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ - รพ.หัวหิน จำนวน 31 คน - รพ.ปราณบุรี จำนวน 3 คน - รพ.สามร้อยยอด จำนวน 10 คน - รพ.ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 9 คน - รพ.ทับสะแก จำนวน 3 คน - รพ.บางสะพาน จำนวน 1 คน - รพ.บางสะพานน้อย จำนวน 12 คน เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าจำนวน 69 คน ได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ - รพ.หัวหิน จำนวน 31 คน - รพ.ปราณบุรี จำนวน 3 คน - รพ.สามร้อยยอด จำนวน 10 คน - รพ.ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 9 คน - รพ.ทับสะแก จำนวน 3 คน - รพ.บางสะพาน จำนวน 1 คน - รพ.บางสะพานน้อย จำนวน 12 คน

51

52 *ข้อมูลจากระบบรายงานโภชนาการรายโรงเรียน กลุ่มวัยเรียน การแก้ไขปัญหา 1.จัดกิจกรรม smart kid coacher และโรงเรียน อ่อนหวานแก้ไขปัญหาใน รร.เป้าหมาย 2.ประเมิน พัฒนายกระดับ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 3.ตรวจคัดกรอง 4 กลุ่ม อาการเสี่ยงในรร.ที่มี ปัญหาภาวะอ้วนโดย จนท.รพ.สต. 4. ส่งต่อเด็กที่มีปัญหา เข้าคลินิกปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ปีการ ศึกษา นร.ที่ ชั่งนน./ วัด สส. นร.เริ่ม อ้วนและ อ้วน ร้อย ละ 57 41,1693,450 8.38 58 41,9264,104 9.78 12.23 5.02 9.81 10.77 8.05 9.77 12.26 8.72 เป้าหมาย เด็กนักเรียนเริ่มอ้วน และอ้วนไม่เกินร้อยละ 10 เป้าหมาย เด็กนักเรียนเริ่มอ้วน และอ้วนไม่เกินร้อยละ 10 สาเหตุ ในโรงเรียน - มีการจำหน่ายอาหารที่มีความ หวาน มัน เค็มใน รร.และบริเวณ รอบโรงเรียน เช่น ไอศกรีม ของทอด น้ำหวาน ผู้ปกครอง - การบริโภคอาหารในชีวิตประจำวัน ภายในครอบครัว (หวาน มัน เค็ม) 12.19 2.95 9.73 10.88 6.92 10.59 8.28 8.50 เทอม 2 /57 เทอม 1 /58

53 งานป้องกันเด็กจมน้ำ: ลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กต่ำกว่า15ปี ต่อแสนปชก. เป้าหมาย ปี 58 ผลงาน ต่อแสนเด็ก <15ปี <14 ราย7 ราย7.02/แสนปชก. แหล่งข้อมูล : รง.19สาเหตุการบาดเจ็บ ผลงาน ตค.-ธค.58 ผลงาน 58ผลงาน 59 2 2 0 0 0 0 0 0 2 2 1 1 2 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สาเหตุ 1. แหล่งเสี่ยงการจมน้ำในชุมชนมีทุก หมู่บ้าน เนื่องจาก อปท.ขุดเพื่อแก้ไขภัย แล้ง 2. ยังพบมีแหล่งเสี่ยงการจมน้ำในโรงเรียน 4. มีเด็กวัยเรียนผ่านการเรียนทักษะว่ายน้ำ เอาชีวิตรอด ปี 58 จำนวน 200 คน 5. เด็กวัยเรียนผ่านการเรียนทักษะตะโกน โยนยื่น ยังไม่ครอบคลุม 6. ไม่มีครูผ่านหลักสูตรครูก. มาตรการ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและ เสริมสร้างกลไกการป้องกัน เด็กจมน้ำ มาตรการ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและ เสริมสร้างกลไกการป้องกัน เด็กจมน้ำ เป้าหมาย ปี 59 ผลงาน 3 ด. จำนวน <7 ราย0 ราย0 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ บูรณาการงาน อ.คร.ขข. 2. สนับสนุนการสร้างเครือข่าย “ทีมผู้ก่อการดี” 3. จัดทำฐานข้อมูลแหล่งน้ำ เสี่ยง/ข้อมูลการเฝ้าระวังเด็ก จมน้ำ 4. พัฒนาทีมสอบสวนเด็กจมน้ำ 5. สนับสนุนสื่อเอกสารเรื่องการ ป้องกันเด็กจมน้ำ 6. ประสานภาคีเครือข่ายป้องกัน เด็กจมน้ำในรร. 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ บูรณาการงาน อ.คร.ขข. 2. สนับสนุนการสร้างเครือข่าย “ทีมผู้ก่อการดี” 3. จัดทำฐานข้อมูลแหล่งน้ำ เสี่ยง/ข้อมูลการเฝ้าระวังเด็ก จมน้ำ 4. พัฒนาทีมสอบสวนเด็กจมน้ำ 5. สนับสนุนสื่อเอกสารเรื่องการ ป้องกันเด็กจมน้ำ 6. ประสานภาคีเครือข่ายป้องกัน เด็กจมน้ำในรร.

54 ตัวชี้วัด 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน ลดกาเสียชีวิต จากการจมน้ำ ของเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี มีการสร้างทีม ผู้ก่อการดี ดำเนินการป้องกัน การจมน้ำ อย่างน้อย อำเภอละ 1 ทีม มีการดำเนินงาน อย่างน้อย 3 อปก. (3 อปก.แรกขึ้นอยู่ กับความพร้อมของ พื้นที่) มีการ ดำเนินงาน ครบทั้ง 6 องค์ประกอบ จำนวนการเสียชีวิต ของเด็กลดลงตาม เป้าหมายไม่เกิน 6.5 ต่อปชก.เด็กแสนคน 6 องค์ประกอบผู้ก่อการดี (ระดับทองแดง)/ทีม 1. สถานการณ์และข้อมูล 2. การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง 3. ดำเนินการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. การให้ความรู้ในสถานบริการ สธ./ชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง 5. การเรียนการสอนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด 6. การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินงาน มีทีมผู้ก่อการดี สมัครแล้ว 3 ทีม คือ อบต.หนองพลับ/ทศ.กุยบุรี/อบต.แม่รำพึง

55 โครงการเด็กไทยสายตาดี ของขวัญวันเด็ก ตรวจวัดสายตาเด็กในงานวันเด็ก แห่งชาติ -ตรวจวัดสายตา 11,041 คน -พบสายตาผิดปกติ 143 คน (1.30 %) -อยู่ระหว่างแยกประเภทความ ผิดปกติเพื่อแก้ไขปัญหา ป.1ป.2ป.3ป.4ป.5ป.6 ทม.ตรวจ ผป ต. ทม.ตรวจผปต.ทม.ตรวจผปต.ทม.ตรวจผปต.ทม.ตรวจผปต.ทม.ตรวจผปต. จำนวน 750173848160205529455903566554588555213660265675305581538439 ร้อยละ 10098.441.110091.840.8110095.970.9510093.810.6510094.170.5310096.470.72

56 การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยรุ่น

57 บาง สะพาน บางสะพาน น้อย หัวหิน กุยบุรี เมือง ปราณบุรี สามร้อยยอด ทับสะแก สถานการณ์ปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2558 78.51 68.96 68.06 73.26 67.13 56.60 62.19 60.71 ได้รับบริการคุมกำเนิด 15-19 ปี จำนวน (คน)กึ่งถาวรทุกแบบ 1,01411.30%54.8% แหล่งข้อมูล : รายงานผลงาน ปีงบประมาณ 2558 หญิงหลังคลอดอายุ 15-19 ปี ตั้งครรภ์ซ้ำ หญิงคลอด 15-19 ปี คลอดครรภ์ 2 ขึ้นไป ร้อยละ 1,17919116.20 การแก้ไขปัญหา 1.สอนทักษะชีวิตในกลุ่ม นักเรียนมัธยมและกลุ่ม เปราะบาง 2.อบรมหลักสูตรการสื่อสาร เรื่องเพศกับลูกวัยรุ่น แก่ ผู้ปกครองทุกอำเภอ 3.กำหนดให้เป็นนโยบายใน การคุมกำเนิดกึ่งถาวรหลัง คลอดในแม่วัยรุ่น 4.สร้างทีมภาคีเครือข่าย แก้ไขปัญหาในระดับ อำเภอ เกณฑ์ ≤ 50 เกณฑ์≤10 % 9.75 29.06 18.00 15.79 14.58 10.71 12.96 2.78 ตั้งครรภ์ซ้ำ คลอด ต่ำกว่า 20 ปี สาเหตุ คลอดต่ำกว่า 20 ปี - ไม่มีการเตรียมการเพื่อ คุมกำเนิด - ขาดที่ปรึกษาเมื่อเกิด ปัญหา ตั้งครรภ์ซ้ำ - ทัศนคติในการตั้งครรภ์ - หน่วยบริการยังไม่ให้ บริการคุมกำเนิดหลัง คลอด

58 ผลการดำเนินงาน ปี 2559 (รอบ3เดือน) ผลการดำเนินงาน ปี 2559 (รอบ3เดือน) แหล่งข้อมูล : รายงานผลงาน เดือน ต.ค.-ธ.ค. 2558 หญิงคลอดอายุ 15-19 ปี Pop หญิง 15-19 ปี หญิงคลอด 15-19 ปี อัตรา/พัน pop 15,04326717.75 หญิงคลอดอายุ 15-19 ปี ตั้งครรภ์ซ้ำ หญิงคลอด 15-19 ปี คลอดครรภ์ 2 ขึ้นไป ร้อยละ 2676022.47 บาง สะพาน บางสะพาน น้อย หัวหิน กุยบุรี เมือง ปราณบุรี ทับ สะแก 9.09 26.47 16.22 15.00 4.35 29.73 12.50 38.64 สามร้อยยอด Small Success 3 เดือน มีทีมนักจัดการ สุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) -สร้าง Core Team บูรณาการ ภาคีที่เกี่ยวข้องใน ระดับอำเภอ ทั้ง 8 อำเภอ โดยมีนายอำเภอ / ปลัดอำเภอเป็นประธาน(มี อำเภอที่กำหนดเป็นประเด็น ปัญหาเชื่อมต่อ DHS (สาม ร้อยยอด กุยบุรี ทับสะแก) เวทีประชุม Core Team ระดับ จังหวัดและอำเภอ จัดทำแผน บูรณาการระดับจังหวัดและอำเภอ จัดโครงการ พ่อแม่เปิดใจ ลูกหลาน(รัก) ปลอดภัย ดำเนินการแล้ว 4 อำเภอ 648 คน (เป้าหมาย อำเภอละ 5 รุ่น รวม ทั้งสิ้น 1,600 คน) เน้นบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร ในกลุ่มหญิงคลอดอายุต่ำกว่า 20 ปี กิจกรรม สำคัญของ จังหวัด ปี2559 ตั้งครรภ์ซ้ำ ญ.คลอดต่ำ กว่า 20 ปี เกณฑ์≤10 % เกณฑ์ ≤50 /พัน 24.23 19.53 12.85 17.73 17.74 18.23 14.07 13.65 คลอด ต่ำกว่า 20 ปี ตั้งครรภ์ซ้ำ

59 กลุ่มวัยทำงาน

60 การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน : ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ต่อแสนปชก. เป้าหมาย ปี 58 ผลงาน (ราย) ต่อแสนปชก. <18/แสน ปชก. 248 ราย47.45/แสน ปชก. แหล่งข้อมูล : รง.19สาเหตุการบาดเจ็บ ผลงาน ตค.-ธค.58 ผลงาน 58ผลงาน 59 64.71 40.59 33.29 47.58 52.75 60.16 28.33 39.91 18.08 2.62 6.24 9.06 10.10 6.22 17.54 2.66 สาเหตุ 1.สภาพถนนและวิศวกรรมการจราจร กำลัง ดำเนินการแก้ไข 2.การบังคับใช้กม.ยังไม่เข็มงวด 3.ปชช.ขาดความตระหนักการป้องกันอุบัติเหตุ 4.จำนวนรถและความแรงของรถเพิ่มขึ้น/รถ จยย.เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด 5.อัตราการสวมหมวกนิรภัย น้อยกว่า50% 6.การบูรณาการของสหสาขาวิชาชีพในการ ป้องกันอุบัติเหตุระดับจังหวัดยังไม่ต่อเนื่อง 7.ศปถ.ระดับอำเภอ เพื่อดำเนิน การป้องกัน อุบัติเหตุยังไม่เป็นรูปธรรม มาตรการสำคัญ - การจัดการข้อมูล - การป้องกัน/ด่านชุมชน - พัฒนาองค์กรปลอดภัย - พัฒนาการรักษาพยาบาล EMS/ER คุณภาพ มาตรการสำคัญ - การจัดการข้อมูล - การป้องกัน/ด่านชุมชน - พัฒนาองค์กรปลอดภัย - พัฒนาการรักษาพยาบาล EMS/ER คุณภาพ เป้าหมาย ปี 59 ผลงาน (3 ด.) ต่อแสน ปชก. <16/แสน ปชก. 54 ราย10.33/แสน ปชก. 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงานอุบัติเหตุทางถนน บูรณาการงาน อ.คร.ขข. 2. พัฒนาฐานข้อมูลการเฝ้า ระวังการบาดเจ็บ 3. พัฒนาทีมสอบสวนการ บาดเจ็บ 4. วิเคราะห์สาเหตุนำเสนอที่ ประชุม ศปถ.จว/อ. 5. สนับสนุนสื่อองค์กรปลอดภัย 6. นิเทศติดตาม 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงานอุบัติเหตุทางถนน บูรณาการงาน อ.คร.ขข. 2. พัฒนาฐานข้อมูลการเฝ้า ระวังการบาดเจ็บ 3. พัฒนาทีมสอบสวนการ บาดเจ็บ 4. วิเคราะห์สาเหตุนำเสนอที่ ประชุม ศปถ.จว/อ. 5. สนับสนุนสื่อองค์กรปลอดภัย 6. นิเทศติดตาม

61 ตัวชี้วัด 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน อัตรา ตายจาก อุบัติเหตุ ทางถนน 1.มีการวิเคราะห์ข้อมูล (ปริมาณ/คุณภาพ) และนำเสนอต่อ ศปถ. จังหวัด/อำเภอ 2.มีการแก้ไขจุดเสี่ยง 5จุด/ไตรมาส 3.ผลงานด่านชุมชน ช่วงเทศกาลปีใหม่ ติดตามการ จัดตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ในรพ.ระดับ A/S/M1 (Service Plan) 1.ผลการดำเนินการด่าน ชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2.ดำเนินงานในระดับอำเภอ ผ่าน DHS/DC 3.มาตรการองค์กร เน้นความ ปลอดภัยของรถพยาบาล / รถยนต์ราชการ และการสวม หมวกนิรภัย อัตราการ เสียชีวิตจาก อุบัติเหตุทาง ถนนลดลง ตาม เป้าหมาย =16/แสน ปชก. Small Sucecss (3 เดือน ต.ค.-ธ.ค.58)

62 1.มีการประชุมกลุ่มย่อย ระหว่าง ปภ.ตำรวจ บ.กลาง สาธารณสุข ขนส่ง แขวงการทาง ประจำเดือน ก่อนการประชุม ศปถ.จังหวัด 2.การแก้ไขจุดเสี่ยงแต่ละอำเภอ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อำเภอ จำนวน จุดเสี่ยง แก้ไข ได้รับการแก้ไข หัวหิน3 จุด2 จุด 1.สร้างสะพานต่างระดับหนองแก ถ. เพชรเกษม กม.222 2.ปิดจุดกลับรถทางเข้าหน้ารพ.หัวหิน ปราณบุรี5 จุด1 จุด 1.ติดตั้งไฟส่องสว่างทางเข้าบ้านทุ่งเสือ นอน-บายพาส กม.43 สามร้อยยอด4 จุด0 จุด เนื่องจากอยู่ระหว่างซ่อมถนนเพชร เกษม กุยบุรี4 จุด1 จุด 1.ซ่อมผิวถนนในหมู่บ้านท่าตกน้ำ เนื่องจากอยู่ระหว่างซ่อมถนนเพชร เกษม เมือง5 จุด1 จุด 1.ปิดทางแยกเข้าด่านสิงขร-เพชรเกษม กม.318(ช่วงเทศกาล) ทับสะแก6 จุด1 จุด 1.ปิดจุดกลับหน้าอุดมนันท์-เพชรเกษม กม.350(ช่วงเทศกาล) บางสะพาน4 จุด2 จุด 1.ปรับปรุงผิวถนนในหมู่บ้านดอนทอง 2.ห้ามรถบรรทุกเหล็กวิ่งถนนตลาดบาง สะพานช่วงเช้าและเย็น บางสะพานน้อย4 จุด1 จุด 1.ติดตั้งไฟส่องสว่างบ้านทุ่งสีเสียด- เพชรเกษม กม.428 รวม35 จุด9 จุด(กำลังดำเนินการแก้ไข 26 จุด) Small Sucecss (3 เดือน ต.ค.-ธ.ค.58)

63 3.การตั้งด่านชุมชนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2559 อำเภอจำนวนด่าน หัวหิน5 จุด *ได้รับการสนับสนุน อุปกรณ์การตั้งด่านชุมชน ปราณบุรี5 จุด สามร้อยยอด5 จุด กุยบุรี6 จุด เมือง5 จุด ทับสะแก6 จุด *ได้รับการสนับสนุน อุปกรณ์การตั้งด่านชุมชน บางสะพาน7 จุด บางสะพานน้อย5 จุด รวม44 จุด Small Sucecss (3 เดือน ต.ค.-ธ.ค.58)

64 1. ม.ล.เพ็ญประไพ หอยทอง 081-8301675 2. นางจันทิรา โกมล 081-9428629 3. นางนภาพร โดมทอง 081-4343392 4. นายสุทธิ วิเชียรฉาย 095-7530357 1. ม.ล.เพ็ญประไพ หอยทอง 081-8301675 2. นางจันทิรา โกมล 081-9428629 3. นางนภาพร โดมทอง 081-4343392 4. นายสุทธิ วิเชียรฉาย 095-7530357 รพ.หัวหิน 1. นพ.สมชาย เทพเจริญนิรันดร์ 2. นางสุมา เหมทัต 081-9444605 3. น.ส.สำเภา แซ่เล้า 089-0607433 รพ.หัวหิน 1. นพ.สมชาย เทพเจริญนิรันดร์ 2. นางสุมา เหมทัต 081-9444605 3. น.ส.สำเภา แซ่เล้า 089-0607433 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 1. พญ.พรพรรณ จินดาวัฒนวงศ์ 084-1163738 2. นางศิริพรรณ กลีบจันทร์ 081-9818318 3. นางนฤมล วัลลภวรกิจ 086-5038873 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 1. พญ.พรพรรณ จินดาวัฒนวงศ์ 084-1163738 2. นางศิริพรรณ กลีบจันทร์ 081-9818318 3. นางนฤมล วัลลภวรกิจ 086-5038873 รพ.บางสะพาน 1. นพ. เชิดชาย ชยวัฒโฑ 085-8332818 2. นายเจริญ เจริญลักษณ์ 085-2959103 3. นางประพิมพรรณ ยุทธนาวราภรณ์ 086-1632094 รพ.บางสะพาน 1. นพ. เชิดชาย ชยวัฒโฑ 085-8332818 2. นายเจริญ เจริญลักษณ์ 085-2959103 3. นางประพิมพรรณ ยุทธนาวราภรณ์ 086-1632094 รพ.ปราณบุรี 1. นพ.ประสงค์ ปานไพรศล 089-0909991 2. นายเรวัติ สุขหอม 081-9413124 3. นางน้ำทิพย์ เผ่าพันธุ์ 089-8369709 รพ.ปราณบุรี 1. นพ.ประสงค์ ปานไพรศล 089-0909991 2. นายเรวัติ สุขหอม 081-9413124 3. นางน้ำทิพย์ เผ่าพันธุ์ 089-8369709 รพ.สามร้อยยอด 1. นพ.สมเกียรติ ตั้งใจรักการดี 081-8575489 2. นายชูศักดิ์ ผินประดับ 083-7076900 3. นางพรทิภา อัครปฐมกุล 089-6772334 รพ.สามร้อยยอด 1. นพ.สมเกียรติ ตั้งใจรักการดี 081-8575489 2. นายชูศักดิ์ ผินประดับ 083-7076900 3. นางพรทิภา อัครปฐมกุล 089-6772334 รพ.กุยบุรี 1. พญ.อัญชิสา ไตรภพ 085-1260075 2. นางราตรี คงเจริญ 081-8423442 3. น.ส.หรรษา สวยพริ้ง 083-7076900 รพ.กุยบุรี 1. พญ.อัญชิสา ไตรภพ 085-1260075 2. นางราตรี คงเจริญ 081-8423442 3. น.ส.หรรษา สวยพริ้ง 083-7076900 รพ.ทับสะแก 1. นพ.วีรวุฒิ พร้อมวัฒนาพันธุ์ 2. นายบุญชัย ศิวิลัย 081-0130505 3. น.ส.สุนันทา สิริเวชพันธ์ 089-0814387 4. นายเรืองศักดิ์ อังสวัสดิ์ 090-9626517 รพ.ทับสะแก 1. นพ.วีรวุฒิ พร้อมวัฒนาพันธุ์ 2. นายบุญชัย ศิวิลัย 081-0130505 3. น.ส.สุนันทา สิริเวชพันธ์ 089-0814387 4. นายเรืองศักดิ์ อังสวัสดิ์ 090-9626517 รพ.บางสะพานน้อย 1.นพ.สมพงษ์ พัฒนกิจไพโรจน์ 081-1935517 2. นายสมวงศ์ ประพันธ์วงศ์ 081-8575800 3. น.ส.กอบแก้ว หุ่นเก่า 086-1601957 รพ.บางสะพานน้อย 1.นพ.สมพงษ์ พัฒนกิจไพโรจน์ 081-1935517 2. นายสมวงศ์ ประพันธ์วงศ์ 081-8575800 3. น.ส.กอบแก้ว หุ่นเก่า 086-1601957 Trauma & Emergency Administration Unit จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ 2559

65 ประเด็นนโยบาย NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน 1.คัดกรอง CKD ใน ผู้ป่วย DM HT 60% 2. CVD risk 60% 1.คัดกรอง CKD ใน ผู้ป่วย DM HT 70% 2. CVD risk 70% 1. NCD คุณภาพ 80% 2.คลินิก CKD คุณภาพใน รพ. 80% 1. DMควบคุมได้ 40 2. HT ควบคุม ได้ 50% 3. CKD stage3ลดลงได้ 50% 1.คัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM HT 83.31 53.31 83.24 57.67 24.66 52.86 53.86 54.19 เป้าหมายผลงานร้อยละ 56,3513090454.84 แหล่งข้อมูล : โปรแกรม HDC ผลงาน ตค.58-ธค.58 เกณฑ์ 60 % 20.72 25.51 32.46 35.38 20.66 36.49 10.65 36.69 ผลงาน 3 M การแก้ไขปัญหา - เน้นการคัดกรองในกลุ่ม DM และ HT เพิ่มขึ้น - ตรวจสอบฐานข้อมูลโรค เรื้อรัง ระหว่างแฟ้ม Chronic และ HDC - จัดตั้ง CKD คลินิก เชื่อมโยง กับ NCD ปัญหา ปี58 - อ.เมือง ปัญหาการส่งออก43 แฟ้ม - การคัดกรอง CKD เน้นในกลุ่ม DM (คัดกรองในกลุ่ม HT น้อย) - ฐานข้อมูลผู้ป่วยจาก HDC สูง กว่าแฟ้ม Chronic ติดตาม ผู้ป่วยไม่ได้)

66 2.ประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM,HT 39.61 59.50 39.28 62.89 20.97 54.47 40.96 44.33 เกณฑ์ ร้อยละ เป้าหมายผลงานร้อยละ 56,3512652147.06 แหล่งข้อมูล : ข้อมูล 43 แฟ้ม การแก้ไขปัญหา - ชี้แจงแนวทางการคัดกรอง ทุกอำเภอ - จัดหาโปรแกรมดึงข้อมูล จาก 43 แฟ้ม ใช้ฐานข้อมูล ที่พื้นที่มีอยู่ - เน้นการให้ข้อมูลความ เสี่ยงแก่ผู้ป่วยเพื่อปรับ พฤติกรรม เกณฑ์ 60 % ปัญหา ปี2558 - อ.เมือง ปัญหาการ ส่งออก43 แฟ้ม - การคัดกรอง CVD Risk เป็นนโยบายใหม่ เริ่มสร้าง เครื่องมือการประเมิน และ กระจายให้พื้นที่ล่าช้า - ปี 59 เปลี่ยนเครื่องมือใน การคัดกรอง ผลงาน 59 14.85 43.00 54.95 35.54 39.25 43.61 24.99 26.79 ผลงาน 58

67 แผนสุขภาพกลุ่มวัย ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ

68 สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อำเภอ จำนวนผู้สูงอายุในพื้นที่ ทั้งหมด จำนวนร้อยละ หัวหิน10,98212.65 ปราณบุรี9,95618.21 สามร้อยยอด7,41216.25 กุยบุรี6,24517.53 เมืองฯ12,64317.59 ทับสะแก6,89719.22 บางสะพาน11,87915.53 บางสะพานน้อย4,60914.97 รวมจังหวัด70,62316.13 12.65 18.21 16.25 17.53 17.59 19.22 15.53 14.97 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ร้อยละ 16.13 (> 15 %) (>20% ถือว่าเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์)

69 จำนวนผู้สูงอายุสำรวจความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน และภาวะพึ่งพิง ปี 59 อำเภอ จำนวน กลุ่มที่ 1กลุ่มที่ 2กลุ่มที่ 3กลุ่มที่ 4ผู้สูงอายุ จำนวนผู้สูงอายุที่ไม่ มีผู้ดูแล ผสอ. และแจ้งประสานจน ได้รับการ พท. ติดสังคม ติดบ้านปาน กลาง ติดบ้าน รุนแรง ติดเตียงที่ไม่มีผู้ดูแล ดูแลโดยท้องถิ่นและ ชุมชนแล้ว ทั้งหมดจำนวน ร้อย ละ จำนวน ร้อย ละ จำนวน ร้อย ละ จำนวน ร้อย ละ จำนวน ร้อย ละ จำนวนร้อยละ หัวหิน 10,982 9,42985.861,17110.661461.33770.70240.22190.17 ปราณบุรี 9,956 9,38694.272572.58650.65860.8600.000 สามร้อยยอด 7,412 6,88392.863815.14821.11390.53240.3230.04 กุยบุรี 6,245 5,76892.363094.95651.04620.99410.6600.00 เมืองฯ 12,643 11,76193.025859.37970.77770.61780.62450.36 ทับสะแก 6,897 3,58251.943806.0800.00550.8000.000 บางสะพาน 11,879 6,57455.3475812.14280.24700.59100.08100.08 บางสะพานน้อย 4,609 3,10367.321732.77430.93370.8010.021 รวมจังหวัด70,623 56,48679.984,0145.685260.745030.711780.25780.11

70 สรุปผลการดำเนินงาน small success 3 เดือน 1.การประเมินคัดกรองโรคสำคัญ/Geriatric Syndrrom การคัดกรองโรค ผู้สูงอายุ 60% เป้าหมาย (คน) ผลงาน (คน) ร้อย ละ Geriatric Syndrom 60% เป้าหมาย (คน) ผลงาน (คน) ร้อย ละ 1.โรคเบาหวาน 70,62314,05719.90 1.ภาวะหกล้ม70,623 67579.57 2.โรคความดันโลหิตสูง70,623 14,10919.98 2.การกลั้นปัสสาวะ70,623 733810.39 3.หัวใจหลอดเลือด สมอง 70,623 6,6709.44 3.ปัญหาการนอน 70,623 794611.25 4.สุขภาพทางตา70,623 9,92414.05 4.สมองเสื่อม 70,623 933313.22 5.โรคซึมเศร้า70,623 12,62217.87 5.ดัชนีมวลกาย 70,623 761010.78 6.สุขภาพช่องปาก70,623 12,02017.02 6.พฤติกรรมสุขภาพที่ พึงประสงค์ 70,623 69089.78 7.ข้อเข่าเสื่อม70,623 9,24713.09

71 ลำดับรายการตัวชี้วัด เป้าหมาย /ผลงาน หัว หิน ปราณ บุรี สาม ร้อย ยอด กุยบุรีเมือง ทับ สะแก บาง สะพาน บาง สะพาน น้อย รวม จังหวัด 1. ร้อยละของ โรงพยาบาลชุมชน มีหน่วยบริการ ผู้สูงอายุที่ให้บริการ ประเมิน/คัดกรอง และรักษาเบื้องต้น (ร้อยละ 30) เป้าหมาย-111-1116 ผลงาน-111-1116 ร้อยละ-100 - 2 ร้อยละของร้อยละ ของ รพท./รพศ.มี หน่วยบริการ ผู้สูงอายุ (ร้อยละ 95) เป้าหมาย1---1---2 ผลงาน1---1---2 ร้อยละ100--- ---2 2.ด้านคลินิกบริการ / การบำบัดรักษา สรุปผลการดำเนินงาน small success 3 เดือน

72 ลำ ดับ รายการตัวชี้วัด หัว หิน ปราณ บุรี สามร้อย ยอด กุยบุรีเมือง ทับ สะแก บาง สะพาน บาง สะพาน น้อย รวมรวม อำเภอ / จังหวัด 1. ตำบลต้นแบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 เป้าหมาย7656667548 ผลงาน2253545431 ร้อยละ14.050.010050.083.366.771.480.064.58 2 ผู้สูงอายุได้รับการ ประเมินและจัดทำ แผนการดูแลรายบุคคล ร้อยละ 30 เป้าหมาย--5-----5 ผลงาน--3-----3 ร้อยละ--60----- 3 จำนวน Care giver ผ่าน การอบรม (CG 1 คน ต่อ ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง 10คน) เป้าหมาย--35----- ผลงาน--32----- ร้อยละ--91.4----- 3.ด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว / ภาวะพึ่งพิง สรุปผลการดำเนินงาน small success 3 เดือน

73 ตำบล LTC ใน พท. นำร่อง 1000 ตำบล /600 ลบ. ลำดับอำเภออปท.เป้าหมาย (สปสช.) สถานการณ์ ณ ปัจจุบัน นำร่องปี 58 นำร่องปี 59 สมัคร ใจ รอการ ยืนยันตอบ รับ สปสช. 1.หัวหินเทศบาลหัวหิน  2.ปราณบุรี เทศบาลตำบลปากน้ำ ปราณ  3.สามร้อยยอดเทศบาลตำบลไร่เก่า   4.สามร้อยยอดเทศบาลตำบลไร่ใหม่  5.กุยบุรีเทศบาลตำบลกุยบุรี  6.เมืองประจวบเทศบาลเมืองประจวบฯ  7.ทับสะแกเทศบาลตำบลทับสะแก  8.บางสะพาน เทศบาลตำบลกำเนิดนพคุณ  9. บางสะพาน น้อย เทศบาลตำบลบางสะพาน น้อย  รวมจังหวัด1 แห่ง8 แห่ง6 แห่ง3 แห่ง

74 งานผู้พิการ สถานการณ์ 813 745 1,085 764 1,533 807 1027 384 ผู้พิการทั้งหมด 7,158 คน เข้าถึงบริการ ร้อยละ 80 96.63 94.64 98.92 93.22 90.90 80.00 84.39 94.30

75 ตัวชี้วัด 1 : คนพิการเข้าถึงบริการ ทางการแพทย์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด 2 :รพท.มีการปรับสภาพแวดล้อม มีสิ่ง อำนวยความสะดวกให้คนพิการ และผู้สูงอายุเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้ ผ่านเกณฑ์ระดับ 4 ร้อยละ100 เกณฑ์ (คะแนนเต็ม) รพ. หัวหิน รพ. ประจวบฯ ที่จอดรถ (12)12 ทางลาด (15)1213 ห้องน้ำ (21)21 ป้ายสัญลักษณ์ (6)66 ให้บริการข้อมูล (9)99 รวมคะแนน (63)6061 ร้อยละ95.2396.82 ผ่านเกณฑ์ระดับ55 ระดับ 4 = 80 % ระดับ 5 = 90 % ผลการดำเนินงาน

76 ของขวัญปีใหม่ การดำเนินงาน -สำรวจผู้พิการ พบ ผู้พิการแขนขาด 3 ราย อำเภอหัวหิน 1 ราย ทับสะแก 2 ราย โดยประสาน พื้นที่เพื่อขอรายชื่อ และส่งต่อไปที่ศูนย์สิรินธรฯ -กำหนดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา ศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการดูแลผู้พิการ วันที่ 3 กพ.2559 -จัดหาและซ่อมอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 1,500 ราย ทั่วประเทศ -พัฒนาทักษะบุคลากร จดทะเบียน และผู้ดูแลผู้พิการ 1,000 คน

77 ระบบควบคุมโรค

78 จำนวนตาย สถานการณ์ไข้เลือดออก จ.ประจวบคีรีขันธ์ แนวโน้มอัตราป่วยปี 44-58 แนวโน้มกลุ่มอายุป่วยปี 56-58 อัตราป่วยต่อแสนประชากร จำนวนผู้ป่วยปี 58 251.49 268.25 202.59 53.86 137.54 319.97 320.48 479.02 ตั้งแต่ 1 ม.ค.-31 ธ.ค.58 - จำนวนป่วย 1,357 ราย อัตรา 258.42 ต่อแสนปชก. - ตาย 4 ราย (Type 2 1 ราย, Type 4 1 ราย) ที่ เมือง กุยบุรี หัวหิน สามร้อยยอด อัตราป่วยตายร้อยละ 0.29 - สัดส่วน DF 60% DHF 38% DSS 2% -พบมากในกลุ่ม 10-14 รองมา 5-9 ปี -ป่วยสูงสุดที่ อ.สามร้อยยอด ปราณบุรี และหัวหิน จำนวนตายอัตราป่วย แผนที่อัตราป่วยรายอำเภอ ปี 2558

79 การป้องกันควบคุมโรค: ร้อยละ50 ของอำเภอสามารถควบคุมโรคได้ไม่เกิน 2 รุ่น 0.00 50.00 0.00 83.33 33.33 100.00 71.43 60.00 แหล่งข้อมูล : โปรแกรม 506 ผลงาน ต.ค.58-ธ.ค.58 การแก้ไขปัญหา - ดำเนินการควบคุมโรค ตาม มาตรการ 3 3 1 (รายงานโรค ภายใน 3 ชั่วโมง,อสม.ทำลาย แหล่งภายใน 3 ชั่วโมง, ควบคุม โรคภายใน 1 วัน - รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ลูกน้ำยุงลาย Big cleaning day สาเหตุ - สภาพภูมิอากาศฝนตก มี แหล่งน้ำขัง เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำ -การควบคุมโรคอย่างไม่ เข้มข้นไม่ครอบคลุมยังพบ ลูกน้ำ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ร้อยละ 50 ของอำเภอที่ สามารถควบคุมโรคติดต่อ สำคัญของพื้นที่ได้ 3,6, 9, 12เดือน ร้อยละ70 ของตำบลในแต่ละ อำเภอ สามารถควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญ ได้แก่โรค ไข้เลือดออก ได้ ภายใน 2 รุ่น ผลงาน59 การดำเนินงาน 3 เดือน - จัดประชุมชี้แจงแนวทางการ ดำเนิน(บูรณาการร่วมกับ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับ อำเภอ/ตำบล แบบสัญจร) - ควบคุมโรคตามมาตร 3 3 1, 0 3 7 - ประชาสัมพันธ์รณรงค์ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลาย นิยาม: ร้อยละ 70 ของตำบล ในแต่ละอำเภอ สามารถควบคุมโรคได้ภายใน 2 รุ่น (2 เท่าของระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด 28 วัน) อัตราป่วย(ต่อแสนประชากร) ผลงาน58 57.14 66.00 33.33 83.33 100.00

80 ตัวชี้วัด 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน ลดการป่วย ด้วยโรค ไข้เลือดออก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของอัตรา ป่วยปีที่ผ่าน มา 1.ขับเคลื่อนกลไก การเตือนภัย และตอบ โต้ภาวะฉุกเฉิน 2.พัฒนาบุคลากรใน การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และรักษา 3. ขับเคลื่อนกลไก การติดตามและ ประเมินผลการเฝ้า ระวัง ป้องกัน ควบคุม โรค 4.พัฒนาส่งเสริม และ สนับสนุนให้ประชาชน มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง และเหมาะสม 1.มีการจัดตั้งศูนย์ ข้อมูล 5 มิติ DHF ของจังหวัด 2.วิเคราะห์ข้อมูล 5 มิติ ส่งศูนย์ EOC อย่างน้อยเดือนละ ครั้ง 3. ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานเดือนละ ครั้ง 4.แพทย์ พยาบาล ชันสูตร ได้รับการ พัฒนาทักษะ 100% 1.วิเคราะห์ข้อมูล 5 มิติ ส่งศูนย์ EOC อย่างน้อย เดือนละครั้ง 2.มีการติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานเดือนละครั้ง 3.ค่า HI CI ไม่เกินค่า เป้าหมาย 4.อัตราป่วย อัตราป่วย ตายไม่เกินค่าเป้าหมาย ในช่วงเดือนเดียวกัน 5.กุมารแพทย์ อายุรแพทย์ พยาบาล ได้รับการพัฒนาทักษะ 80 % 1. วิเคราะห์ข้อมูล 5 มิติ ส่งศูนย์ EOC อย่างน้อยเดือนละครั้ง 2.มีการติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานเดือนละครั้ง 3.แพทย์ พยาบาลจบ ใหม่ได้รับการพัฒนา ทักษะ ร้อยละ 80 4.ค่า HI CI ไม่เกินค่า เป้าหมาย 5.อัตราป่วย อัตราป่วย ตายไม่เกินค่า เป้าหมายในช่วงเดือน เดียวกัน การดำเนินงาน 3 เดือน - จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนิน(บูรณาการร่วมกับอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แก่เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขระดับอำเภอ/ตำบล แบบสัญจร) - เตรียมการจัดตั้งศูนย์ EOC ไข้เลือดออกจังหวัด - ประชุมพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ทุกไตรมาส - ประมวลผลการควบคุมโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ 3 3 1 ผ่านเว็ปไซด์ http://goo.gl/forms/9jUUyeZ9VT - ประชาสัมพันธ์รณรงค์ Big cleaning day ทั้ง 8 อำเภอ

81 จำนวนผู้ป่วยปี58 ผลงาน success rateผู้ป่วยปี57 ปัญหาการดำเนินงาน -การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ไม่ครอบคลุม -การเสียชีวิต :ภาวะแทรกซ้อน รักษาล่าช้า -การขาดยา : ติดตามไม่ได้ ปฏิเสธ การรักษา ผลข้างเคียงจากยา -การรักษาล้มเหลว : กินยาไม่ ถูกต้อง หรือ ไม่ต่อเนื่อง -การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นกลุ่ม เสี่ยงสูงต่อการเกิดวัณโรคดื้อยา หลายขนาน ไม่ครอบคลุม 175 43 59 26 93 15 72 21 91.4 % 82.5% 91.9% 37.5% 88.44% 100% 96.77% 94.12% ผู้ป่วยวัณโรคปี 2553–2558 จำแนกตามประเภท ผู้ป่วย (คนไทย) อัตราความสำเร็จรักษาวัณโรคผู้ป่วยรายใหม่เสมหะพบเชื้อ NEW M+ (คนไทย) มาตรการดำเนินงาน 1.การค้นหาเชิงรุกกลุ่มเสี่ยง 2.การพัฒนาคุณภาพการตรวจหา เชื้อวัณโรคดื้อยาทางห้องปฏิบัติการ 3.การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา วัณโรค 4.การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนแลภาคประชาสังคม

82 1.การค้นหาเชิงรุกกลุ่มเสี่ยง เช่นเรือนจำ ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ 48 12 16 8 5 เป้าหมาย 3เดือน ผลงานร้อยละ 139156100* ผลการดำเนินงาน QUICK win 3เดือน แหล่งข้อมูล : โปรแกรม TB Thailand การแก้ไขปัญหา -เน้นเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยในเชิงรุก มากขึ้น ในกลุ่มผู้สัมผัสโรคร่วม บ้าน ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ ผู้ต้องขัง -ส่งต่อผู้มีอาการสงสัยให้ได้รับ การตรวจวินิจฉัย -ประชาสัมพันธ์อาการสงสัย วัณโรค ปัญหา ยังมีอำเภอที่ดำเนินการค้นหา ผู้ป่วยได้ต่ำกว่าเป้าหมาย เช่น คือ บางสะพาน บางสะพานน้อย และ เมืองประจวบฯ KPI:จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 (เพิ่มขึ้น ร้อยละ2.5ต่อไตรมาส) จำนวนผู้ป่วยวัณโรค(ไทย)ทุกประเภทรายอำเภอปี 2558 (1 ต.ค.57-30 ก.ย.58) ประจวบคีรีขันธ์ เป้าหมาย 3 เดือน รายอำเภอ ผลงาน 6 26 20 5 14 24 11 16 14 58 สถานการณ์ ปี 58 เป้าหมายทั้งปี=554 ราย ผลงาน ร้อยละ 28.16

83 100 50.00 100 เป้าหมายผลงานร้อยละ 8787.5 แหล่งข้อมูล : โปรแกรม TB Thailand 1เม.ย.58-30มิ.ย.58 ไตรมาส 3/2558 การแก้ไขปัญหา -กำหนดเป็นมาตรการ ให้ผู้ป่วยที่เคยได้รับการ รักษา มาก่อน ต้องได้รับ การตรวจทดสอบความไว ต่อยาทุกราย ปัญหา -มีผู้ป่วยเคยรักษามาก่อน ไม่ได้ส่งทดสอบความไวต่อ ยา1 รายที่ รพ.ประจวบฯ ผลการดำเนินงาน QUICK win 3เดือน 2.การส่งและมีผลการตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรคของผู้ป่วยวัณโรค รพ. ผู้ป่วย เคย รักษาTB มาก่อน (ราย) มีผลทดสอบ ความไวของยา Confirmed MDR-TB จำนวนร้อยละ หัวหิน 11100 0 ปราณบุรี 000 0 สามร้อยยอด 33100 0 กุยบุรี 000 0 ประจวบฯ 2150 0 ทับสะแก 22100 0 บางสะพาน 000 0 บางสะพานน้อย 000 0 รวม 8787.5 0 การส่งและมีผลการตรวจความไวต่อยาของผู้ป่วยเคยรักษาแยกราย อำเภอ (1เม.ย.58-30มิ.ย.58) 2.1 KPI:วัณโรคเคยรับการรักษามาก่อน ร้อยละ 90 ผลงาน

84 66.67 57.14 เป้าหมายผลงานร้อยละ 1193932.77 แหล่งข้อมูล : โปรแกรม TB Thailand 1เม.ย.58-30มิ.ย.58 ไตรมาส3/2558 การแก้ไขปัญหา -กำหนดมาตรการให้มีการ ตรวจทดสอบความไวต่อยา ในผู้ป่วยกลุ่มเสียง เพื่อเฝ้า ระวังวัณโรคดื้อยาในกลุ่ม ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ให้มากขึ้น ปัญหา -มี4 รพ.ที่ไม่ได้ส่งผู้ป่วย ไม่ได้ส่งทดสอบความไว ต่อยา เนื่องจากผู้ป่วยไม่ เข้าข่ายกลุ่มเสี่ยง ผลการดำเนินงาน QUICK win 3เดือน 2.การส่งและมีผลการตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรคของผู้ป่วยวัณโรค รพ. ผู้ป่วย TBปอด รายใหม่ (ราย) มีผลทดสอบ ความไวของยา Confirmed MDR-TB จำนวนร้อยละ หัวหิน 421457.14 0 ปราณบุรี 21733.33 0 สามร้อยยอด 7457.14 0 กุยบุรี 6466.67 0 ประจวบฯ 1900 0 ทับสะแก 300 0 บางสะพาน 1200 0 บางสะพานน้อย 900 0 รวม 1193932.77 0 การส่งและมีผลการตรวจความไวต่อยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดราย ใหม่แยกรายอำเภอ (1เม.ย.58-30มิ.ย.58) 2.2 KPI:วัณโรคปอดรายใหม่ ร้อยละ40 (เน้นกลุ่มติดเชื้อ HIV, DM,ประวัติสัมผัส MDR-TB) 33.33 57.14 ผลงาน

85 3.ความสำเร็จของการรักษาวัณโรครายใหม่ทุกประเภท 94.12 85.71 82.35 100 90.00 100 เป้าหมายผลงานร้อยละตายขาดยา 1049591.345/4.8%2/1.9% ผลการดำเนินงาน QUICK win 3เดือน แหล่งข้อมูล : โปรแกรม TB Thailand ตค.56-กย.57 การแก้ไขปัญหา -พัฒนาศักยภาพ พัฒนา ความร่วมมือและสร้าง การมีส่วนร่วมของ เครือข่ายในการเฝ้าระวัง ติดตามดูแลผู้ป่วยวัณ โรค -พัฒนามาตรฐาน รพ. คุณภาพการดูแลและ รักษาวัณโรค ปัญหา มี2อำเภอที่ผลของ ความสำเร็จในการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคไม่เป็นตาม เป้าหมาย KPI: ความสำเร็จของการรักษาวัณโรครายใหม่ทุกประเภท(คนไทย) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส1/2558 ผลงาน อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยรายใหม่ ทุกประเภท(คนไทย) ปี 2557แยกรายอำเภอ โรงพยาบาล จำนวนขึ้น ทะเบียน Success ร้อย ละ ล้มเหลว/ % ตาย/% ขาดยา /% หัวหิน 14011380.715/3.612/8.66/4.3 ปราณบุรี 745777.031/1.45/6.83/4.1 สามร้อยยอด 726184.721/1.44/5.63/4.2 กุยบุรี 181055.5603/16.72/11.1 ประจวบฯ 846880.951/1.211/13.10 ทับสะแก 262596.1501/3.80 บางสะพาน 615590.1605/5.20 บางสะพานน้อย 222090.9101/4.50 รวมจังหวัด 49740982.298/1.642/8.514/2.8 สถานการณ์ ปี 58 100

86 75.00 85.71 42.50 48.94 44.00 44.23 57.14 ผลการดำเนินงาน 81.82 ของขวัญปีใหม่: เป้าหมายผลงานร้อยละ 28416558.10 แหล่งข้อมูล : โปรแกรม HDC ผลงาน ธค.58 การแก้ไขปัญหา - การประเมินผล/ควบคุมกำกับ : ตรวจสอบผลงานกับฐานข้อมูลของ หน่วยบริการ - การปรับฐานข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ สาเหตุ - ผลงานความครอบคลุมต่ำ เนื่องจากเด็กที่เกิดประมาณ 15-31 สค.59 ยังไม่ถึงวันให้บริการ EPI) - คุณภาพของการบันทึกข้อมูลยังไม่ ครบถ้วน/ถูกต้อง ผลงาน 59 ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ร้อยละ ของเด็กอายุ 4 เดือนได้รับ วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3 เดือน : เด็กอายุครบ 4 เดือน (เกิด 1 - 31 สค. 58) = 284 ราย 6 เดือน : เด็กอายุครบ 4 เดือน (เกิด 1 สค.- 30 พย.58) 9 เดือน : เด็กอายุครบ 4 เดือน (เกิด 1 สค.- 29 กพ.59) 12 เดือน: เด็กอายุครบ 4 เดือน (เกิด 1 สค.- 31 พค.59) การดำเนินงาน 3 เดือน -ประชุมเชิงปฏิบัติการ ดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน โรค แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ระดับอำเภอ/ตำบล 2 วัน 150 คน งบประมาณ 91,400 บาท -พัฒนาระบบฐานข้อมูล

87 ผลการดำเนินงาน PA เขตสุขภาพที่5 3 เดือน :6 เดือน :9 เดือน : พัฒนาระบบกำกับติดตามการรับวัคซีนเด็ก โดยจัดทำทะเบียนติดตามหญิงต่างด้าว คลอดที่ รพ. ตั้งแต่ 1 ตค.58 -31 ธค.58 (256 ราย) ประเมินผลการพัฒนา ระบบการติดตามการ รับวัคซีนเด็ก มีระบบการติดตามเด็กรับ วัคซีนเป็นแนวทาง เดียวกันทุกระดับ เด็กต่างด้าวที่มาคลอดในโรงพยาบาล ตั้งแต่ 1 ตค.58ถึง 30 กย.59 ได้รับวัคซีน เหมาะสมตามวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แหล่งข้อมูล : โปรแกรม HDC ผลงาน ตค.58-ธค.58 การแก้ไขปัญหา - การประเมินผล/ควบคุมกำกับ : ตรวจสอบผลงานกับฐานข้อมูลของหน่วย บริการ - การปรับฐานข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ สาเหตุ -ผล BCG,HBV บางอำเภอสูงบางอำเภอต่ำกว่า เป้าหมายเนื่องจากคุณภาพของการบันทึก ข้อมูลยังไม่ครบถ้วน/ถูกต้อง(หน่วยบริการให้ วัคซีนครบทุกราย ให้แก้ไขและส่งออกใหม่) -DTP-HB1ต่ำเนื่องจากเด็กที่เกิด พย.-ธค.อายุ ยังไม่ถึงเกณฑ์ -วัคซีนชนิดอื่นๆอายุยังไม่ถึงเกณฑ์ การดำเนินงาน 3 เดือน -ประชุมเชิงปฏิบัติการดำเนินงานสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขระดับอำเภอ/ตำบล 2 วัน 150 คน งบประมาณ 91,400 บาท -พัฒนาระบบฐานข้อมูล ตัวชี้วัด/ เป้าหมาย: เด็กต่างด้าวที่มา คลอดใน โรงพยาบาลได้รับ วัคซีนเหมาะสม ตามวัยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 262คน273คน 187คน 100.00 52.78 100.00 100.0. 100.00 BCG HBV DTP-HB1 83.33 58.33 100.00 73.68 100.00 60.47 100.00 45.68 100.00 76.92 84.62

88 คณะที่ ๒ พัฒนาและจัดบริการ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชน สามารถเข้าถึงบริการได้

89 สาขาปฐมภูมิ และสุขภาพองค์รวม จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี 2559

90 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปฐมภูมิและระบบสุขภาพอำเภอ ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและ ท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ เป้าหมาย: ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 (โดยใช้เกณฑ์ UCCARE ระดับ 1-5 ขั้น)

91 ขั้น 2 ขั้น 3 ขั้น 2 ขั้น 3 ขั้น 2 ขั้น 1 ขั้น 3 ผลการประเมินตนเอง ปี 2559 ผลการประเมินตนเอง ปี 2559 ผลการประเมินตนเอง ปี 2558 ผลการประเมินตนเอง ปี 2558 เป้าหมายผลลัพธ์ : การพัฒนาตาม องค์ประกอบ UCCARE และยกระดับขึ้น 1 ระดับ ทุกข้อ หรือระดับ 3 ขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทาง DHS-PCA (UCCARE) ขั้น 3

92 จุดเสี่ยง5จุด/แก้ไข2จุด มีการกำหนดจุดเสี่ยง เพื่อแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ โดย มีเป้าหมาย กำหนดจุดเสี่ยงอำเภอละ 5 จุด มีการกำหนดจุดเสี่ยง เพื่อแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ โดย มีเป้าหมาย กำหนดจุดเสี่ยงอำเภอละ 5 จุด เครือข่าย มี CKD คลินิก หัวหินมี ปราณบุรีมี สามร้อยยอดมี กุยบุรีมี เมืองมี ทับสะแกมี บางสะพานมี บางสะพานน้อยมี จุดเสี่ยง5จุด/แก้ไข1จุด จุดเสี่ยง4จุด/แก้ไข0จุด จุดเสี่ยง4จุด/แก้ไข1จุด จุดเสี่ยง5จุด/แก้ไข1จุด จุดเสี่ยง6จุด/แก้ไข1จุด จุดเสี่ยง4จุด/แก้ไข2จุด จุดเสี่ยง4จุด/แก้ไข1จุด มี CKDคลินิก เพื่อคัดกรองและดูแลผู้ป่วยที่มี ภาวะโรคไตเสื่อม ครบทุกโรงพยาบาล ร้อยละ 100 รวมจุดเสี่ยง37จุด/แก้ไข9จุด เป้าหมาย : มี CKD ทุกโรงพยาบาล(8 แห่ง /100 %) ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58

93 อำเภอ จำนวนผู้สูงอายุ จำนวน ผู้พิการ ทั้งหมด จำนวน Palliative Care ทั้งหมด จำนวนเด็ก อายุ 9,18, 30, 42 เดือน ทั้งหมด ผู้สูงอา ยุ ทั้งหมด ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ผู้สูงอายุ ติดเตียง หัวหิน10,9821,31777813232,445 ปราณบุรี9,95632286745411,469 สามร้อยยอด7,412463391,085181,733 กุยบุรี6,24537462764611,590 เมือง12,643682771,533201,781 ทับสะแก6,8973805580751,379 บางสะพาน11,879786701,027322,480 บางสะพาน น้อย 4,6092163738471,184 รวม 70,6234,5405037,15820714,061 ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายของทีมหมอครอบครัว จำแนกรายอำเภอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (ณ เดือน ธันวาคม 2558)

94 ผลการดำเนินงานกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลโดยทีมหมอครอบครัว ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ผลการดำเนินงานกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลโดยทีมหมอครอบครัว ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 80.5 100 25.64 50 62.34 37.72 64.29 54.05 เป้าหมายผลงานร้อยละ 73152171.27 47.96 100 21.25 40 100 27.27 ผู้สูงอายุติดเตียง เป้าหมาย : ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัว อย่างน้อย ร้อยละ 60 ผู้สูงอายุติดเตียง เป้าหมาย : ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัว อย่างน้อย ร้อยละ 60 เป้าหมายผลงานร้อยละ 50332063.62 ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล เป้าหมาย : ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัว ร้อยละ 60 ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล เป้าหมาย : ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัว ร้อยละ 60

95 ผลการเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายของทีมหมอครอบครัว ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ผลการเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายของทีมหมอครอบครัว ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 82.61 100 57.37 100 60 22.22 เด็ก อายุ 9,18, 30, 42 เดือน ทั้ง หมด เด็ก อายุ 9,18, 30, 42 เดือน ที่ สงสัย พัฒนา การ ล่าช้า เด็กอายุ 9,18, 30, 42 เดือนที่ สงสัย พัฒนา การ ล่าช้า ได้รับ การ ส่งเสริม ร้อยละ เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ที่ สงสัย พัฒนา การ ล่าช้า ได้รับ การ ส่งเสริม 3,555217 100 Palliative care เป้าหมาย : ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัวอย่าง น้อย ร้อยละ 60 Palliative care เป้าหมาย : ได้รับการดูแล โดยทีมหมอครอบครัวอย่าง น้อย ร้อยละ 60 เป้าหมายผลงานร้อยละ 20717082.12 เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนที่สงสัย พัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งเสริม พัฒนาการ เป้าหมาย : เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ 100 เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนที่สงสัย พัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งเสริม พัฒนาการ เป้าหมาย : เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ 100

96 ผู้ป่วยเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการใน ศสม. และ รพ.สต.มี ผลการควบคุมเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์ ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 ผู้ป่วยเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการใน ศสม. และ รพ.สต.มี ผลการควบคุมเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์ ผลงาน ตั้งแต่ ต.ค.58 – ธ.ค.58 39.56 43.74 45.12 51.06 40.62 47.91 38.11 35.94 จำนวน ผู้ป่วย HT ผู้ป่วยHT ควบคุม ความดัน ได้ ร้อยละ 14,8302,27215.32 3.73 3.16 27.12 10.87 14.87 42.22 7.85 12.80 ผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย : ร้อยละ 40 ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย : ร้อยละ 40 ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จำนวน ผู้ป่วย DM ผู้ป่วยDM ควบคุม เบาหวาน ได้ ร้อยละ 4,8362,04842.35 โรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย : ร้อยละ 50 ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตได้ โรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย : ร้อยละ 50 ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตได้ *หมายเหตุ : อ.ทับสะแก ที่สูงกว่า อ. อื่นๆ 1.ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ โดยให้นั่งพักก่อน จนกว่าความดันจะลง 2.ถ้าหากความดันไม่ลง จะ consult แพทย์ *หมายเหตุ : อ.ทับสะแก ที่สูงกว่า อ. อื่นๆ 1.ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ โดยให้นั่งพักก่อน จนกว่าความดันจะลง 2.ถ้าหากความดันไม่ลง จะ consult แพทย์

97 ปัญหา / อุปสรรคแนวทางแก้ไข 1. การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ ในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ภาคี เครือข่าย ภาคท้องถิ่นและภาคส่วนอื่น ที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทขับเคลื่อน ประเด็นสุขภาพในการร่วมคิด ร่วม วางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วม ประเมินผล ยังไม่ต่อเนื่อง ได้แก่ อ.ทับสะแก 1. ระดับจังหวัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจในแนวทางการ ขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ พัฒนาระบบสุขภาพอำเภอที่ประสบผลสำเร็จ ให้กับภาคี เครือข่าย อปท./ อสม. / บุคลากรสาธารณสุข 2. เครือข่ายสุขภาพอำเภอ ควรมีการประชุม คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ ที่มีภาคี เครือข่ายและภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมวางแผน ร่วมคิด ร่วมดำเนินการ และร่วมประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 2. การดำเนินงานที่เชื่อมโยงระบบ บริการปฐมภูมิ รวมถึงการบูรณาการ จัดบริการใน 5 กลุ่มวัย และบูรณาการ ร่วมกับการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ยังขาดคุณภาพ ผลงาน 1. ระดับจังหวัดมีการประชุมบูรณาการ 5 กลุ่มวัย และ บูรณาการร่วมกับการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) และกำหนดแนวทางในการเชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ ร่วมกัน 2. ชี้แจงการจัดทำแผนที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ ใน 5 กลุ่มวัย และบูรณาการร่วมกับการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ให้กับเครือข่ายสุขภาพ 3. บุคลากรที่ปฏิบัติงาน ยังขาดองค์ ความรู้ความเข้าใจในการประเมิน DHS -PCA 1. จัดอบรมบุคลากร เรื่อง DHS-PCA ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข

98 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ หัวข้อที่ 3.1 การบริหารการเงินการคลัง

99 ตารางที่ 1 สถานการณ์การเงินการคลังตามดัชนีทางการเงิน 7 ระดับ ณ ไตรมาส 4 ย้อนหลัง 3 ปี (ปี 56-58) หน่วยบริการ Risk Scoring (ไม่รวมงบลงทุน) ปี 2556ปี 2557ปี 2558 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 34 4 รพ.กุยบุรี 43 1 รพ.ทับสะแก 11 1 รพ.บางสะพาน 20 1 รพ.บางสะพานน้อย 44 1 รพ.ปราณบุรี 10 1 รพ.หัวหิน 01 2 รพ.สามร้อยยอด001

100 ตารางที่ 2 สถานการณ์การเงินการคลังตามดัชนีทางการเงิน 7 ระดับ ณ ไตรมาส 4 ย้อนหลัง 3 ปี (ปี 56-58) หน่วยบริการ ทุนสำรองสุทธิ (Net Working Capital) ปี 2556ปี 2557ปี 2558 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 11,566,896.55-15,562,365.70 -17,538,225.84 รพ.กุยบุรี -2,888,430.691,368,820.65 10,700,661.91 รพ.ทับสะแก 5,837,515.0010,665,890.96 12,789,492.86 รพ.บางสะพาน 30,534,915.5041,459,764.79 40,389,896.69 รพ.บางสะพานน้อย -3,139,937.93-1,781,252.45 3,489,693.64 รพ.ปราณบุรี 16,345,296.6924,098,712.36 20,006,074.82 รพ.หัวหิน 99,725,657.43129,021,199.25 51,833,758.72 รพ.สามร้อยยอด 51,891,555.0652,709,581.74 56,783,234.63

101 ตารางที่ 3 สถานการณ์การเงินการคลังตามดัชนีทางการเงิน 7 ระดับ ณ ไตรมาส 4 ย้อนหลัง 3 ปี (ปี 56-58) หน่วยบริการ ผลประกอบการ NI+Depleciation ปี 2556ปี 2557ปี 2558 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 12,434,096.7869,951,241.30 21,375,726.23 รพ.กุยบุรี 2,418,605.915,343,004.01 2,174,021.01 รพ.ทับสะแก 15,250,740.6721,267,369.64 -3,367,013.61 รพ.บางสะพาน -5,881,948.33622,568.92 2,396,801.13 รพ.บางสะพานน้อย 15,473,392.655,169,106.19 3,204,308.45 รพ.ปราณบุรี 21,203,041.033,914,667.99 -10,816,792.61 รพ.หัวหิน 6,055,557.1059,084,063.32 138,088,450.43 รพ.สามร้อยยอด 18,984,353.1411,078,345.97 -1,315,499.10

102 ตารางที่ 4 แผนประมาณการรายได้-ควบคุมค่าใช้จ่าย ปีงบประมาณ 2559 หน่วยบริการ ประมาณการรายได้ รวม ประมาณการ รายจ่ายรวม ส่วนต่างรายได้ - รายจ่าย รพ.ประจวบคีรีขันธ์534,507,044.00534,315,530.00191,514.00 รพ.กุยบุรี93,025,090.9392,500,285.97524,804.96 รพ.ทับสะแก 128,998,067.85128,997,315.28752.57 รพ.บางสะพาน 233,209,519.44 0.00 รพ.บางสะพานน้อย 81,311,602.1981,287,554.3824,047.81 รพ.ปราณบุรี 128,041,835.89128,019,854.6621,981.23 รพ.หัวหิน 1,022,196,663.08850,899,782.74171,296,880.34 รพ.สามร้อยยอด 128,875,840.00128,871,656.004,184.00

103 ตารางที่ 5 จำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกทั้งหมดของ หน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2555 – 2558 หน่วยบริการ จำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกทั้งหมด ปี 2555ปี 2556ปี 2557ปี 2558 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 214,738210,635231,438259,159 รพ.กุยบุรี 71,08675,07883,587105,001 รพ.ทับสะแก 91,53778,68685,081108,715 รพ.บางสะพาน 98,00697,76897,307131,969 รพ.บางสะพานน้อย 59,60863,81162,96264,135 รพ.ปราณบุรี 108,137109,269115,308131,686 รพ.หัวหิน 247,700290,500335,926386,684 รพ.สามร้อยยอด 110,556120,930138,604148,480

104 ตารางที่ 6 ผลการประเมินระดับความสำเร็จการบริหารการเงิน การคลัง FAI จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ณ ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2558 หน่วยบริการ การควบคุม ภายใน การพัฒนา เกณฑ์คง ค้าง การบริหาร การเงิน การคลัง พัฒนา ต้นทุน บริการ Unit cost รวม รพ. ประจวบคีรีขันธ์ 100 150 100 รพ.กุยบุรี 100 150 100 รพ.ทับสะแก8010015012090 รพ.บางสะพาน80 1509080 รพ.บางสะพาน น้อย 100 150 100 รพ.ปราณบุรี1008015012090 รพ.หัวหิน80 12015086 รพ.สามร้อย ยอด 10060120 80 คะแนนเฉลี่ย90.75

105 ตารางที่ 7 ต้นทุนหน่วยบริการ (Unit Cost แบบ Quick Method) หน่วยบริการ Mean + 1SDไตรมาส 4/2558 OPDIPDOPDIPDผล รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 895.718,571.22 837.9016,458.83ผ่าน รพ.กุยบุรี 779.4617,689.18558.2614,668.60ผ่าน รพ.ทับสะแก716.3117,010.42785.4810,293.60ไม่ผ่าน รพ.บางสะพาน707.2316,071.86636.0815,625.97ผ่าน รพ.บางสะพานน้อย786.0618,674.53743.2613,920.75ผ่าน รพ.ปราณบุรี877.6922,350.10577.4213,502.41ผ่าน รพ.หัวหิน976.7516,932.131,333.0011,736.08ไม่ผ่าน รพ.สามร้อยยอด779.4617,689.18523.1810,542.10ผ่าน

106 ตารางที่ 8 การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว (ค่าบริการทางการแพทย์) หน่วยบริการ เงิน UC Prepaid ปี 2559 รพ.ประจวบคีรีขันธ์ 43,695,164.59 รพ.กุยบุรี 30,960,857.49 รพ.ทับสะแก 34,527,593.00 รพ.บางสะพาน 72,527,859.92 รพ.บางสะพานน้อย 25,135,992.93 รพ.ปราณบุรี 39,842,239.32 รพ.หัวหิน 125,187,585.64 รพ.สามร้อยยอด 35,880,108.45 รวมทั้งหมด 407,757,401.34

107 การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา งานผลงาน ณ ปัจจุบัน คณะกรรมการบริหาร จัดการด้านยาและ เวชภัณฑ์ ระดับจังหวัด มี ระดับอำเภอ มีทุกอำเภอ (ในชื่อ ต่างกัน) กรอบบัญชียาที่ลดหลั่น และสอดคล้องกันตาม ระดับสถานบริการ กรอบใหญ่ 855 รายการ ระหว่างการรวบรวม

108 การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา งานผลงาน ณ ปัจจุบัน การจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ KPI : มีการจัดซื้อยาและ เวชภัณฑ์ร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของมูลค่าจัดซื้อ ทั้งหมด - ข้อสรุปจัดซื้อร่วมยา รอบ 1/59 เมื่อ 19 มค 59 จำนวน 40 รายการ มูลค่า 23.6 ล้านบาท (ร้อยละ 8.56) - ซื้อร่วมเขต 60 รายการ - ข้อสรุปจัดซื้อร่วมเวชภัณฑ์มิใช่ยา และวัสดุการแพทย์ เมื่อ 21 มค 59 จำนวน 45 รายการ มูลค่า 35.04 ล้าน บาท (ร้อยละ 22.18) -จัดซื้อตามระเบียบพัสดุฯ ภายใน ก.พ.- มี.ค.59 แผนการสำรองยาร่วมและการ จัดการร่วม ใช้การยืมระหว่าง รพ. มีแผนทบทวน เมื่อกรอบรายการระดับ จังหวัดแล้วเสร็จ

109 การพัฒนาบุคลากร

110 ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังตามสายงาน วิชาชีพแพทย์ เกณฑ์ FTE 80 % 7145,(2) 13 6 มีจริง 13 7 10 4 42 27,(4) 10 7 22 13 9 4 รพ. จำนว นควร มี (FTE 80 %) จำนวนที่มีทั้งหมด อัตรา ต่อ ประชา กร ส่วน ขาด ขรกพรก พก ส. ลจ. ชค. รวม 1 หัวหิน 7145 245,(2) 24 2 ปราณบุรี 136 6 7 3 สามร้อย ยอด 137 7 6 4 กุยบุรี 104 4 6 5 ประจวบฯ 4227 427,(4) 11 6 ทับสะแก 107 7 3 7 บาง สะพาน 2213 9 8 บาง สะพาน น้อย 94 4 5 รวม 190113 611971

111 ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังตามสายงาน วิชาชีพทันตแพทย์ เกณฑ์ FTE 80 % 1613 3 3 มีจริง 11 4 4 3 10 7 4 5 9 5 6 2 รพ. จำนวน ควรมี (FTE 80 %) จำนวนที่มีทั้งหมด ส่วนขาด ขรกพรก พก ส. ลจ. ชค. รวม 1 หัวหิน 1613- -- 3 2 ปราณบุรี 33- --3 0 3 สามร้อย ยอด 114- --4 7 4 กุยบุรี 43- --3 1 5 ประจวบฯ 107- --7 3 6 ทับสะแก 45- --5 7 บางสะพาน 95- --5 4 8 บางสะพาน น้อย 62- --2 4 รวม 6342 21

112 ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังตามสายงาน วิชาชีพเภสัชกร เกณฑ์ FTE 80 % 2723 6 6 มีจริง 6 5 5 2 17 16 5 5 10 9 4 3 รพ. จำนวน ควรมี (FTE 80 %) จำนวนที่มีทั้งหมด ส่วนขาด ขรกพรก พก ส. ลจ. ชค. รวม 1 หัวหิน 2721- 2-23 4 2 ปราณบุรี 66- --6 0 3 สามร้อย ยอด 65- --5 1 4 กุยบุรี 52- --2 3 5 ประจวบฯ 1716- -- 1 6 ทับสะแก 541 --5 0 7 บางสะพาน 109- --9 1 8 บางสะพาน น้อย 43- --3 1 รวม 806612 -6911

113 ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังตามสายงาน พยาบาลวิชาชีพ เกณฑ์ FTE 80 % 384275 51 58 มีจริง 56 57 34 44 198 235 46 55 116 103 36 34 รพ. จำนวน ควรมี (FTE 80 %) จำนวนที่มีทั้งหมด ส่วนขาด ขรกพรก พกส. ลจ. ชค. รวม 1 หัวหิน 3841971 77-275 109 2 ปราณบุรี51461 7458-7 3 สามร้อย ยอด 5655- 2-57 4 กุยบุรี3440- 2244-10 5 ประจวบฯ 198217- 153235 -37 6 ทับสะแก4650- 4155-9 7 บางสะพาน 11681- 1012103 13 8 บางสะพาน น้อย 3630- 2234 2 รวม 9217162119 2486160

114 ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังตามสายงานใน รพ.สต. อำเภอ ตำแหน่งหัวหินปราณบุรี สามร้อย ยอด กุยบุรีเมืองทับสะแก บาง สะพาน บางสะพาน น้อย ประชากร41,81749,77639,12736,36370,44331,35361,68933,168 Pop base พยาบาล วิชาชีพ (1:2500) 1720161528132513 พยาบาลวิชาชีพมี จริง 71056137 10 ขาด10 119156123 Pop base นวก./ จพ.สาธารณสุข (1:1250) 3340312956254927 นวก.สาธารณสุข1411 1226142015 จพ.สาธารณสุข7127101311 6 ขาด1217137170186 Pop base นวก./ จพ.ทันต สาธารณสุข (1:8000) 34336353 จพ.ทันต สาธารณสุข 33314322 นวก.ทันต สาธารณสุข 10000000 ขาด1022031

115 ธรรมาภิบาล

116 การตรวจสอบภายใน การดำเนินงาน ปี 2558 โรงพยาบาล 8 แห่ง สถานีอนามัย 8 แห่ง รพ.สต. 81 แห่ง พบว่า - ด้านการควบคุมภายใน ทุกหน่วยมีการ วางระบบควบคุมภายในแต่ยังไม่ ครอบคลุมทุกภาระงาน -ด้านการเงินและบัญชี การจัดเก็บ เอกสารไม่ครบถ้วน การจัดทำรายงาน การเงินไม่ถูกต้องและไม่เป็นปัจจุบัน การ ใช้คืนเงินยืมไม่เป็นไปตามกำหนด - ด้านงานพัสดุ ไม่มีการจัดทำแผนการ จัดซื้อวัสดุ แผนการจัดหางบลงทุน การ จัดซื้อไม่เป็นไปตามแผน - ด้านการบริหารงานบุคคล ส่วนใหญ่การ จัดจ้างลูกจ้างชั่วคราวไม่ถูกต้องตาม ระเบียบ ผลการดำเนินงาน ปี 2559 (ตค.58-มค.59) โรงพยาบาล 7 แห่ง พบว่า - ด้านการควบคุมภายใน รพ.ทุกแห่ง วางระบบควบคุมภายในครอบคลุมทุก ภาระงาน -ด้านการเงินและบัญชี ความเสี่ยงใน ปีที่ผ่านมาได้รับการแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะทุกประเด็น - ด้านงานพัสดุ ทุก รพ.มีการจัดทำ แผนการจัดซื้อวัสดุ แผนการจัดหา งบลงทุน จัดซื้อตรงตามแผน -ด้านการบริหารงานบุคคล ทุก รพ.มี การปรับปรุงการจัดจ้างลูกจ้าง ชั่วคราวให้ถูกต้องตามระเบียบ -จัดส่งระเบียบที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้ทุกหน่วยงาน -สร้างช่องทางในการให้คำปรึกษาแก่ผู้ปฏิบัติ -นพ.สสจ.กำหนดนโยบายให้มีการจัดทำแผนเงิน/แผนจัดซื้อ -พัฒนาผู้รับผิดชอบงานให้มีองค์ความรู้ตามระเบียบที่ถูกต้อง

117 คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ หัวข้อ 4.1 ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

118 การกำกับดูแลคุณภาพสถานที่ผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท สาเหตุ -ผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตาม เกณฑ์การผลิตอาหารที่ดี (GMP) โดยหมวดที่ตก คือ หมวด สุขาภิบาล หมวดบันทึกและรายงาน และมีบางแห่งที่พบว่าห้อง บรรจุไม่สามารถป้องกันสัตว์ และแมลงได้ การแก้ไขปัญหา -จัดอบรมผู้ประกอบการน้ำ และน้ำแข็งในจังหวัด -ดำเนินการตรวจติดตามราย ที่ไม่ผ่าน - ดำเนินการตามที่กฎหมาย กำหนดกับผู้ประกอบการที่ไม่ ผ่าน เป้าหมายผลงานร้อยละ 837792.77 100.0 80.0 100.0 75.0 อำเภอจำนวน หัวหิน 19 ปราณบุรี 10 สามร้อยยอด 6 กุยบุรี 4 เมือง 16 ทับสะแก 7 บางสะพาน 16 บางสะพานน้อย 5 รวม 83 จำนวนสถานที่ผลิตแยกราย อำเภอ

119 การกำกับดูแลคุณภาพสถานที่ผลิตน้ำแข็ง แผนการดำเนินงาน -ตรวจติดตามสถานที่ผลิตที่ ได้รับอนุญาต - หารือเกี่ยวกับสถานที่บด น้ำแข็งว่าเข้าข่ายสถานที่ ผลิตอาหารที่ต้องขออนุญาต หรือไม่? - สำรวจสถานที่บดน้ำแข็ง และจัดการนำเข้าระบบ อนุญาตและเฝ้าระวัง เป้าหมายผลงานร้อยละ 15 100.0 อำเภอจำนวน หัวหิน 2 ปราณบุรี 4 สามร้อยยอด 0 กุยบุรี 0 เมือง 3 ทับสะแก 2 บางสะพาน 4 บางสะพานน้อย 0 รวม 15 จำนวนสถานที่ผลิตแยกราย อำเภอ

120 การกำกับดูแลคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำบริโภคฯ สาเหตุ - พบการปนเปื้อน Coliform เกิน มาตรฐาน (การตรวจในปี 2557 เป็นการเลือกผู้ประกอบการที่มี คะแนน GMP ต่ำ 50 % และใน ปี 58 คือที่ยังไม่ได้ตรวจในปี 2557) - pH เกินมาตรฐาน (เกิดจากการ ใช้เครื่องกรอง RO) - ยังไม่มีการเก็บตัวอย่างน้ำแข็ง เป้าหมายผลงานร้อยละ 645078.12 100.0 66.7 90.0 100.0 71.43 50.0 **ยังไม่ได้เก็บรายใหม่ 19 ราย การแก้ไขปัญหา - จัดอบรมผู้ประกอบการน้ำและ น้ำแข็งในจังหวัด - ดำเนินการตรวจติดตามรายที่ไม่ ผ่าน - ดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนด กับผู้ประกอบการที่ไม่ผ่าน

121 การกำกับดูแลคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยนมโรงเรียน ชื่อสถานที่ ปีงบ สธ 2558ปีงบ สธ 2559 ภาคเรียนที่ 2ภาคเรียนที่ 1ภาคเรียนที่ 2 สถานที่ผลิตภัณฑ์สถานที่ผลิตภัณฑ์สถานที่ผลิตภัณฑ์ ห้วยสัตว์ใหญ่ผ่าน ไม่ผ่านผ่านไม่ผ่าน โรงงานผลิตภัณฑ์ นมปราณฯ ผ่าน อ่าวน้อยผ่านไม่ผ่านผ่าน ไม่ผ่าน : โปรตีนนมตก มาตรฐาน สาเหตุ เกิดจากน้ำนมดิบที่รับมามี เนื้อนมที่เพียงพอ ได้เปรียบเทียบ ปรับแล้ว และให้แก้ไขปัญหา ซึ่ง สหกรณ์ได้ประชุมเกษตรกรไป แล้ว ไม่ผ่าน : พบ Coliform สาเหตุ ไม่ปฏิบัติตาม เกณฑ์ GMP อย่าง สม่ำเสมอ ไม่ผ่าน : มันเนยตก มาตรฐาน สาเหตุ เกิดจากน้ำนม ดิบที่รับมามีเนื้อนมที่ เพียงพอ ไม่ผ่าน : มันเนยตก มาตรฐาน สาเหตุ เกิดจากน้ำนม ดิบที่รับมามีเนื้อนมที่ เพียงพอ

122 ปี 2559 อยู่ระหว่างทำแผนการเฝ้าระวังฯ การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพผิดกฎหมาย สื่อต่างๆในจังหวัดประจวบฯ -หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น3 ฉบับ ไม่พบการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ -เคเบิ้ล 1 ช่องปัญหา คือ การรับช่องสัญญาณ เคเบิ้ลอื่นๆมาเป็นรายการ -วิทยุชุมชน 34 สถานี ปี 58 ตรวจ 8 สถานี พบผิด 4 สถานี ร่วมกับ กสทช เขต 14 ทำความเข้าใจ กับผู้จัดรายการแล้ว โฆษณาที่พบ คือ อาหารเสริม (CD) ยา (Spot ได้รับอนุญาต ดีเจโฆษณาผิด ) -ป้าย3 ป้าย ปลดแล้ว

123 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวัง สาเหตุ - ยังตรวจไม่ครบทั้งหมด ซึ่งจากผลการตรวจ 10 แห่ง ไม่พบการฝ่าฝืน กฎหมาย การแก้ไขปัญหา - จัดทำแผนเฝ้าระวัง เพิ่มเติม ในครอบคลุม สถานประกอบการทุกแห่ง เป้าหมายผลงานร้อยละ 151066.67 69.2 ไม่มี 50.0 อำเภอจำนวน หัวหิน 13 ปราณบุรี 0 สามร้อยยอด 0 กุยบุรี 0 เมือง 2 ทับสะแก 0 บางสะพาน 0 บางสะพานน้อย 0 รวม 15 สถานที่เป้าหมายแยกรายอำเภอ

124 สถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการดำเนินการตาม กฎหมาย สาเหตุ - เรื่องร้องเรียนที่พบ ส่วน ใหญ่เป็นการประกอบกิจการ สถานพยาบาลไม่ได้รับ อนุญาต ซึ่งเหลือ 1 แห่ง ที่ ได้สืบพบแล้วว่ามีมูล อยู่ ระหว่างการทำแผนเข้า ดำเนินการ (จัดฟันแฟชั่น) การแก้ไขปัญหา - ออกแบบการป้องปรามการ กระทำความผิด โดย เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ ตรวจ เฝ้าระวังและแนะนำ หากมี การทำซ้ำ แจ้งจังหวัด ดำเนินการตามกฎหมาย เป้าหมายผลงานร้อยละ 151493.33 100.0 50.0 100.0 75.0 อำเภอจำนวน หัวหิน 2 ปราณบุรี 2 สามร้อยยอด 0 กุยบุรี 2 เมือง 5 ทับสะแก 2 บางสะพาน 2 บางสะพานน้อย 0 รวม 15 เรื่องร้องเรียนแยกรายอำเภอ

125 หัวข้อที่ 4.2 : ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น : - การจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สธ. - การจัดการมูลฝอยทั่วไปของ อปท. - การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) คณะที่ 4 : การพัฒนาระบบสนับสนุนงานด้านสุขภาพ

126 สถานการณ์ - ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อจาก รพ. 8 แห่ง/รพ.สต.81 แห่ง เฉลี่ยวันละ 667 กก. หรือ 20,000 กก./เดือน - รพ.สังกัด สธ. + รพ.สต. จัดการมูลฝอยติดเชื้อโดย รพ. เป็นศูนย์กลางในการเก็บ ขน และกำจัด เผาเอง 3 แห่ง/ จ้างเอกชน 5 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 6 แห่ง (75%) การขนส่งจาก รพ.สต.มากำจัดที่ รพ.ยังด้อยคุณภาพ - รพ.รัฐสังกัดอื่น 2 แห่ง + รพ.เอกชน 3 แห่ง จ้างเอกชน ขนส่ง กำจัด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - สถานพยาบาลเอกชน (คลินิก)+ ชุมชน (ผป.ติดเตียง) ยังไม่มีระบบการจัดการที่ชัดเจน - ท้องถิ่นออกข้อกำหนดเรื่องมูลฝอยติดเชื้อเพื่อบังคับใช้ ตามกฎหมาย 3 แห่ง จาก 61 แห่ง (4.92%) มาตรการสำคัญ - พัฒนากลไกด้านบริหารจัดการ (ฐานข้อมูล/ทีมงาน/การสนับสนุน) - บังคับใช้กฎหมายผ่านมติ อสธจ. (มาตรการ /การออกข้อกำหนด ของท้องถิ่น / EHA 4002) - พัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน - ควบคุมกำกับ ประเมินผล เป้าหมาย/ผลลัพธ์ ปี 2559 รพ.ในสังกัด สธ.ทุกแห่ง มีการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อตามกฎหมาย รพ.แม่ข่ายทุกแห่ง มีระบบการจัดการ เพื่อ การเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อจาก รพ.สต.มาเข้า สู่ระบบการกำจัดของ รพ.อย่างมีคุณภาพ อสธจ.มีมติด้านการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ปัญหา - การจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. สังกัด สธ. 2 แห่ง ที่ยังไม่ผ่าน เกณฑ์ - การเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อจาก รพ.สต.ที่ยังด้อยคุณภาพ - การเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อจาก คลินิก + ชุมชน ให้เข้าสู่ระบบการ กำจัดที่ได้มาตรฐาน - ราชการส่วนท้องถิ่นขาดความ พร้อมในการดำเนินการให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย

127 8250 900 750 510 4650 1350 2550 1050 จ้างเอกชนเก็บ ขน กำจัด เก็บขน กำจัดเองโดยเผาในเตาเผา ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อจำแนกรายพื้นที่ กก./เดือน แหล่งข้อมูล : โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

128 แผนการดำเนินงาน ปี 59 1. พัฒนากลไกด้านการบริหาร จัดการและการขับเคลื่อนงาน - แต่งตั้งทีมทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ & ประชุมทีมเพื่อขับเคลื่อนงาน - สนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ให้กับหน่วยบริการ (แนวทางปฏิบัติฯ/ ภาชนะเก็บขน/ป้าย-สติ๊กเกอร์) 2. ใช้กลไก อสธจ. ขับเคลื่อนการบังคับ ใช้ตามกฎหมาย - มาตรการการจัดการที่เป็น มติ อสธจ. - การออกข้อกำหนดท้องถิ่นของ อปท. 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร - ผู้ควบคุมระบบ - ผู้เก็บขนมูลฝอยติดเชื้อ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) ผลการดำเนินงาน (รอบ 3 เดือน) - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อจากหน่วยบริการสุขภาพ - รพ.ทุกแห่งประเมินตนเองตามเกณฑ์ มาตรฐาน (ผ่านเกณฑ์ 6 แห่ง/ไม่ผ่าน เกณฑ์ 2 แห่ง) -มีแผนปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนงานใน ปี 2559 & มีการถ่ายทอดแผนสู่ ผู้ปฏิบัติ - มีการประชุมทีมผู้รับผิดชอบงานระดับ อำเภอ 1 ครั้ง - มีการนำประเด็น “การจัดการมูลฝอย ติดเชื้อเข้าวาระการประชุม อสธจ.

129 สถานการณ์ - ปริมาณมูลฝอยทั่วไปจากเทศบาล 16 แห่ง เฉลี่ย 8,737 ตัน/เดือน นำไปใช้ประโยชน์เฉลี่ย 279.5 ตัน/เดือน (3.2%) - วิธีการกำจัดหลากหลาย ส่วนใหญ่เป็นการฝังกลบ ทั้งฝังกลบในหลุมขยะที่เทศบาลจัดเตรียมไว้ + ส่ง ไปฝังกลบที่ศูนย์กำจัดมูลฝอยแบบครบวงจร (ปราณบุรี) มีบางส่วนเทกอง/เผาในที่แจ้ง - ท้องถิ่นออกข้อกำหนดเรื่องมูลฝอยทั่วไปเพื่อบังคับ ใช้ตามกฎหมาย 37 แห่ง จาก 61 แห่ง (60.66%) - เทศบาลที่มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการมูลฝอยทั่วไป (EHA 4001) 1 แห่ง จาก 16 แห่ง (6.25%) มาตรการสำคัญ - พัฒนาระบบฐานข้อมูล “มูลฝอยทั่วไป” โดยประสานข้อมูลกับ ทสจ./สถ. - พัฒนาองค์กรต้นแบบด้านการจัดการ มูลฝอยแบบครบวงจร + องค์กร No Foam - บังคับใช้กฎหมายผ่านมติ อสธจ. (การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น / EHA 4001) - ควบคุมกำกับ ประเมินผล เป้าหมาย/ผลลัพธ์ ปี 2559 เทศบาลทุกระดับ มีการพัฒนาคุณภาพ การจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้าน การจัดการมูลฝอยทั่วไป (EHA 4001) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 (4 แห่ง) มีองค์กรต้นแบบด้านการจัดการมูลฝอย ทั่วไปแบบครบวงจร การจัดการมูลฝอยทั่วไป ปัญหา - ยังไม่มีหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลาง ในการรวบรวมข้อมูลการจัดการ มูลฝอยทั่วไปของ อปท.แต่ละแห่ง - เทศบาลบางแห่งยังจัดการมูลฝอย ทั่วไปไม่ได้ตามมาตรฐาน - ราชการส่วนท้องถิ่นขาดความ พร้อมในการจัดบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมด้านการจัดการมูลฝอย ทั่วไป (EHA 4001)

130 55,845 13,343 3,750 2,555 14,715 1,328 9,895 3,409 2 เทศบาล ปริมาณมูลฝอยทั่วไปจำแนกรายพื้นที่ ตัน/ปี 2 เทศบาล 1 เทศบาล 3 เทศบาล 1เทศบาล 3 เทศบาล 1 เทศบาล 3 เทศบาล แหล่งข้อมูล : เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบลทุกแห่ง

131 การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น เรื่อง การจัดการมูลฝอยทั่วไป จำแนกรายพื้นที่ 6 / 8 5 / 7 7 / 7 2 / 7 7 / 8 2 / 7 5 / 10 3 / 6 แหล่งข้อมูล : อปท.ทุกแห่ง (เทศบาล + อบต.) อปท.ที่ออกข้อกำหนด / อปท.ทั้งหมด (37 / 61)

132 แผนการดำเนินงาน ปี 59 1. พัฒนากลไกด้านการบริหาร จัดการและการขับเคลื่อนงาน - ประสานความร่วมมือกับ ทสจ./สถ. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูล - พัฒนาองค์กรต้นแบบด้านการ จัดการมูลฝอยแบบครบวงจร 2. ใช้กลไก อสธจ. ขับเคลื่อน การบังคับใช้ตามกฎหมาย - การออกข้อกำหนดของ อปท. 3. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล - การออกข้อกำหนดของ อปท. - การพัฒนา EHA 4001 - องค์กรต้นแบบด้านการจัดการ มูลฝอยแบบครบวงจร การจัดการมูลฝอยทั่วไป(ต่อ) ผลการดำเนินงาน (รอบ 3 เดือน) - มีการนำประเด็น “การจัดการมูลฝอย” ทั่วไป เข้าวาระการประชุม อสธจ. - อสธจ. มีมติให้มีการจัดการมูลฝอย ที่ต้นทางแบบครบวงจร โดยให้เป็น การบูรณาการร่วม 3 หน่วยงานหลัก (สธ.-ทส.-สถ.)

133 สถานการณ์ - ปี 58 มีการประชุม อสธจ. 2 ครั้ง - มีการขับเคลื่อนงาน “การออกข้อกำหนด ของท้องถิ่น” 2 เรื่อง (การจัดการขยะ & การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์) มาตรการสำคัญ - ใช้กลไก อสธจ.ติดตามกำกับ - ให้มี คทง.พิจารณาร่างข้อกำหนดของ ท้องถิ่น ทำหน้าที่ พิจารณากลั่นกรอง และปรับปรุงร่างข้อกำหนดของท้องถิ่น ให้เป็นมาตรฐานกลาง เพื่อให้ อปท. นำไปปรับใช้ในพื้นที่ - ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการออกข้อกำหนด ท้องถิ่น และจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้มาตรฐาน ผ่านการอบรม เป้าหมาย/ผลลัพธ์ ปี 2559 เทศบาลทุกแห่ง มีการออกข้อกำหนด ของท้องถิ่นเพื่อบังคับใช้ตามกฎหมาย ในประเด็นงานที่เป็นนโยบายและหรือ ปัญหาของพื้นที่ เทศบาลมีการจัดบริการอนามัย สิ่งแวดล้อม (EHA) เพิ่มขึ้น การดำเนินงานของ อสธจ. ปัญหา - ราชการส่วนท้องถิ่นขาดองค์ความรู้ ในการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น แผนการดำเนินงาน ปี 59 - มีการประชุม อสธจ. เพื่อขับเคลื่อน งานด้าน อวล. 3 ครั้ง/ปี

134


ดาวน์โหลด ppt จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ยินดีต้อนรับ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google