งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า
หน่วยที่ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า นำเสนอโดย นางสาวศิริพร จันทะแสน เลขที่ 14 4/6 B นางสาวอนงค์นาถ ผาสิกา เลขที่ 17 4/6 B นางสาวนภัศวรร พิสุทธ์เสถียง เลขที่ 23 4/6 B นางสาวจิตสุภา ไวทยสุวรรณ เลขที่ /6 B

2 นี่เธอ การวิเคราะห์รายการค้าที่เรียนมาวันนี้เราไม่ค่อยเข้าใจเลยเธอช่วยอธิบายหน่อยได้ไหม ?
ได้เลยจ๊ะ

3 เรา…อยากรู้ว่าความหมายของมันคืออะไรเหรอ ?
ก็…เป็นการวิเคราะห์ไงล่ะว่า การที่เราลงทุนทำกิจการใด กิจการหนึ่งอยู่นั้น มีผลกระทบต่อเงินทอง หนี้สิน และต้นทุนของเรายังไงบาง…… เรา…อยากรู้ว่าความหมายของมันคืออะไรเหรอ ?

4 ก็เราจะได้รู้ไงล่ะระหว่างที่เราทำกิจการอยู่เงิน…หนี้สิน และต้นทุน ของเราเพิ่มขึ้น..หรือลดลง เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาหรือ ขยายกิจการเพิ่มในอนาคต…ยังไงล่ะ อืม……. แล้วทำเพื่ออะไรเหรอ ?

5 พี่คะแล้ว…มันมีวิธีการ
คิดยังไงบ้างเหรอคะ…. อันดับแรกคือ…ไม่ว่าเราจะวิเคราะห์รายการไหนก็แล้วแต่…เราต้องยึดตามสมาการบัญชีที่เราเรียนผ่านมาแล้วเป็นหลักน้องยังจำได้ใช่มั๊ย…?

6 อ๋อ… จำได้อยู่แล้วคะแต่พี่ลองวิเคราะห์ให้หนูดูซักอย่างได้มั๊ยจ๊ะ
ได้สิ…..แต่น้องต้องตั้งใจฟังด้วยน๊ะ

7 OK จ๊ะ หนูจะตั้งใจฟังคะ
เริ่มเลยนะ…สมมุติว่าน้องจะเปิดร้านขายอาหาร แล้วน้องก็เอาเงินของน้องที่มีอยู่มาลงทุนซัก 100,000 บาท…สิ่งที่น้องจะวิเคราะห์ได้ คือ สินทรัพย์ที่เพิ่มคือ ทุนของน้องเอง ไงล่ะ พอเข้าใจมั้ย ? OK จ๊ะ หนูจะตั้งใจฟังคะ

8 การทำร้านอาหารก็ต้องมีอุปกรณ์ใช่มั้ย…สมมุติว่าเธอใช้เงินสดซื้ออุปกรณ์ในการทำอาหารไป 10,000 บาทสิ่งที่จะวิเคราะห์ได้คือ…สินทรัพย์เพิ่ม คือ อุปกรณ์สินทรัพย์ลด คือ เงินสด 10,000 บาทยังไงล่ะ เข้าใจจ่ะ….

9 แล้วมีการวิเคราะห์ในกรณีไหนอีกบ้างจ๊ะ………
มีจ่ะ…อย่างเช่น เธอได้รับค่าขายอาหารให้ลูกค้า 500 บาทสิ่งที่วิเคราะห์ได้คือ…สินทรัพย์คือ….เงินสด 500 บาท…ส่วนของเจ้าของเพิ่มคือ รายได้ค่าขายอาหาร อ๋อ..ยังงี้นี่เอง.. แล้วมีการวิเคราะห์ในกรณีไหนอีกบ้างจ๊ะ………

10 มีอะไรเพิ่มเติมอีกมยจ๊ะ
มีสิครับ…นอกจากนี้เรายังต้องมีการจัดหมวดหมู่และกำหนดเลขที่บัญชีด้วยน๊ะครับ มีแค่นี้…...เหรอ มีอะไรเพิ่มเติมอีกมยจ๊ะ

11 อันแรกน๊ะ…การจัดหมวดหมู่ จะมี 5 หมวดก็คือ 1 สินทรัพย์
2 หนี้สิน 3 ทุนหรือส่วนของเจ้าของ 4 รายได้ 5 รายจ่าย ยังไงล่ะ…..จ๊ะ แล้ว…มันมีอะไรบ้างเหรอ?

12 แล้วการกำหนดเลขที่บัญชีล่ะทำได้ยังไงบ้าง
การกำหนดเลขที่บัญชีจะมีหลายแบบ เช่น แบบตัวเลขหรือตัวอักษร,ตัวเลขผสมอักษร,แบบหมวดหมู่,เป็น ช่วงเป็นตอน,แบบจุด ทศนิยมเยอะใช่มั๊ยล่ะ…? แต่ว่าเราจะยกตัวอย่างให้เธอดูอันที่ใช้กันส่วนใหญ่ก็แล้วกัน แล้วการกำหนดเลขที่บัญชีล่ะทำได้ยังไงบ้าง

13 จะใช้กันเยอะที่สุดเลย
ก็….แบบตัวเลขไง จะใช้กันเยอะที่สุดเลย แล้วที่ใช้ส่วนใหญ่ คือแบบไหนเหรอ….

14 OK ถ้างั้นเธอก็ลองอธิบายแบบตัวเลขเลยล๊ะกัน
ได้จ่ะ…ก็อย่างเช่น เงินสดเป็นสินทรัพย์อยู่ในหมวด 1 ก็ต้องเป็น 101 ถ้ามีเงินฝากธนาคารด้วยก็เป็น 102 ถ้าเป็นเจ้าหนี้สินหมวด 2 ก็เป็น201 ถ้าเป็นเงินกู้ก็หนี้สินเหมือนกันก็เป็น 202 ก็คือเรียงไปตามอันไหนเกิดก่อนหลังประมาณนี้แหล่ะจ่ะพอได้มั๊ย ?

15 แล้วก็เรียงไปเรื่อยๆ ใช่มั๊ย
ใช่แล้วจ่ะ… เข้าใจถูกต้องเลย ก็พอใจจ่ะ… ถ้างั้นสมมุตว่าเป็นทุนก็ต้องเป็น 301 หรือถ้าถอนไปใช้เองก็ 302 เงินรายได้ก็ต้อง 401 ถ้าเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ก็เป็น 501 แล้วก็เรียงไปเรื่อยๆ ใช่มั๊ย

16 เราต้องขอบใจเธอมาก ๆ เลยจ๊ะที่ช่วยติวให้ จนเราเข้าใจ
ไม่เป็นไรจ๊ะ ยินดีอยู่แล้ว เราต้องขอบใจเธอมาก ๆ เลยจ๊ะที่ช่วยติวให้ จนเราเข้าใจ

17 เราขอถามอะไรอีกอย่างสิ…
ไม่มีอะไรเลยจ๊ะ…..ง่ายมากก็แค่มาให้ทันอาจารย์สอนตั้งแต่ต้นชั่วโมง แล้วก็ตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน แค่นี้เรื่องยากก็กลายเป็นเรื่องง่ายไปเลยล่ะ…สู้ต่อไปจ๊ะ เราขอถามอะไรอีกอย่างสิ… เธอมีวิธียังไงเหรอที่ช่วยให้เรียนแล้วเข้าใจเรียนแล้วรู้เรื่อง


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google