ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
การบริหารสินเชื่อ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
2
ประเภทสินเชื่อ สินเชื่อเพื่อธุรกิจ สินเชื่อเพื่อการบริโภค
สินเชื่อเพื่อการเกษตร
3
กระบวนการบริหารสินเชื่อ
1. กำหนดประเภทสินเชื่อ 2. การหาลูกค้า/การแจ้งข่าวสาร 3. การวิเคราะห์สินเชื่อ 4. การให้สินเชื่อ 5. การดูแลผู้รับสินเชื่อ 6. การเรียกเก็บหนี้ 7. การตรวจสอบและควบคุมดูแลสินเชื่อ
4
ปัจจัยที่กำหนดนโยบายสินเชื่อ
1. กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติที่ประชุม 2. สถานภาพด้านเงินทุน 3. ความเสี่ยงภัย และกำไรที่ยอมรับได้ 4. จำนวนเงินฝาก ทุนเรือนหุ้น รายได้ 5. ความรู้ความสามารถของบุคลากร
5
รายละเอียดของนโยบายสินเชื่อ
1. อำนาจการอนุมัติ และวงเงินอนุมัติ 2. พิธีการสินเชื่อ 3. วงเงินสินเชื่อ 4. ประเภทของสินเชื่อที่ควรให้และไม่ควรให้ 5. อัตราดอกเบี้ย 6. หลักประกัน 7. ระบบงานการให้สินเชื่อ 8. การติดตามและเรียกเก็บหนี้ 9. แนวทางการแก้ปัญหาลูกหนี้อ่อนแอและมีปัญหา
6
วิธีการวิเคราะห์สินเชื่อ
* การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ * การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
7
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
1. Charactor - ลักษณะ(คุณภาพ)ของผู้ขอสินเชื่อ 2. Capacity ความสามารถในการชำระหนี้ 3. Capital เงินทุน 4. Collateral หลักประกัน 5. Condition - สภานการณ์ต่างๆ
8
ลักษณะของผู้ขอสินเชื่อ
- ความรับผิดชอบ - ความมั่นคง - ความซื่อสัตย์สุจริต - ความตรงต่อเวลา - ความเสมอต้นเสมอปลาย
9
ความสามารถในการชำระหนี้
* รายได้ * ความสามารถในการหารายได้ * หนี้สิน * รูปแบบการใช้จ่าย
10
เงินทุน * ทรัพย์สิน * หนี้สิน * ทุน
11
หลักประกัน * อสังหาริมทรัพย์ * หุ้น เงินฝาก * บุคคล / กลุ่มบุคคล
12
สถานการณ์ต่างๆ * สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ * สถานการณ์ทางสังคม
13
การวิเคราะห์สินเชื่อเชิงปริมาณ
- การวิเคราะห์งบดุล - การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน - การวิเคราะห์ข้อมูลอื่นๆ ประกอบ - งบการเงิน
14
แหล่งข้อมูลสินเชื่อ ข้อมูลสินเชื่อสามารถจัดหาได้จากแหล่งต่างๆ ดังนี้
1.1บันทึกหรือรายงานรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ขอสินเชื่อ ซึ่งได้มาจากการสัมภาษณ์ การตรวจสอบ และการสังเกตการณ์ 1.2 งบการเงินของผู้ขอสินเชื่อ 1.3 รายงานจากสถาบันหรือองค์กรต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับสินเชื่อ 1.4 ข่าวสารอื่นๆ ที่รวบรวมได้ 2. ลักษณะสำคัญของข้อมูลสินเชื่อ 2.1 มีความเป็นส่วนตัว ไม่เปิดเผย 2.2 มีความสมบูรณ์ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ 2.3 มีความเป็นปัจจุบัน 2.4 จัดหาได้รวดเร็วทันกับความต้องการ 2.5 แสดงความเกี่ยวเนื่องทางธุรกิจ 2.6 เสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาข้อมูลน้อย
15
การกำหนดวงเงินสินเชื่อ
1. ขนาดธุรกิจของสหกรณ์ 2. การกระจายความเสี่ยงภัย 3. ประเภทธุรกิจของผู้ขอสินเชื่อ 4. ระยะเวลาของสินเชื่อ 5. สภาวะทางธุรกิจ 6. วัตถุประสงค์ของการให้สินเชื่อ 7. ความสามารถในการบริหารของผู้ขอสินเชื่อ 8. คู่แข่งขัน และระดับการแข่งขัน 9. ยอดสินเชื่อรวม
16
หลักการเรียกเก็บหนี้
- เก็บได้ทันทีที่ถึงกำหนดชำระ - มีการติดตามอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง - ใช้วิธีการเรียกเก็บหนี้ที่ยืดหยุ่น - ใช้วิธีการเรียกเก็บหนี้ที่ง่ายต่อการปฏิบัติ - มีระบบการตรวจสอบและติดตามหนี้
17
หลักการสำคัญในการให้สินเชื่อ
1. คุณภาพสำคัญมากกว่าปริมาณสินเชื่อ 2. การวิเคราะห์สินเชื่อให้พิจารณาทั้งด้านความสำเร็จและความล้มเหลวของผู้ขอสินเชื่อ 3. อย่าให้สินเชื่อ ถ้ายังไม่แน่ใจในความซื่อตรงและตั้งใจจริงของผู้ขอสินเชื่อ 4. อย่าให้สินเชื่อถ้ายังไม่เข้าใจธุรกิจของผู้ขอสินเชื่อ 5. ให้มีการจัดทำแผนการชำระหนี้ด้วย
18
หลักการสำคัญในการให้สินเชื่อ(ต่อ)
6. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ขอสินเชื่อให้ได้มากที่สุด 7. หลักประกันไม่สามารถใช้ทดแทนความตั้งใจชำระหนี้ได้ 8. ให้ความสำคัญกับรายละเอียดในเงื่อนไขต่างๆ 9. ให้แน่ใจว่าผู้ค้ำประกันรู้รายละเอียดครบถ้วนแล้ว 10. เตือนตนเองอยู่เสมอว่าการให้สินเชื่อเป็นไปตาม หลักการที่ถูกต้อง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.