งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปฏิรูปประเทศไทย การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 4/2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฏิรูปประเทศไทย การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 4/2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปฏิรูปประเทศไทย การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 4/2561
วันที่ 9 มกราคม 2560 ณ จังหวัดเชียงใหม่ สรุปสาระสำคัญโดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

2 ปฏิรูปประเทศ 1. บริการภาครัฐ สะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
ปฏิรูป 6 ประเด็น 1. การเมือง 2.การบริหารราชการแผ่นดิน 1. บริการภาครัฐ สะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน 3.กฎหมาย 2. ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่รัฐบาลดิจิทัล 4.กระบวนการยุติธรรม 3.โครงสร้างภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวได้เร็วและระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง 4.กำลังคนภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมและ มีสมรรถนะสูง 5.เศรษฐกิจ 5. ระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูด สร้าง และรักษาคนดี คนเก่งไว้ในภาครัฐ 6.ทรัพยากรธรรมชาติ 6. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โปร่งใส และมีกลไกป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน ปฏิรูปประเทศ 7.สาธารณสุข ปฏิรูป 4 องค์ประกอบ 8.สื่อสารมวลชน 1.ระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ 2.ระบบบริการสาธารณสุข 9.สังคม 3. การคุ้มครองผู้บริโภคและผู้ให้บริการ 10.พลังงาน 4. ความยั่งยืน&เพียงพอด้านการเงินการคลังสุขภาพ 11.อื่นๆตามที่ครม.กำหนด

3 -ร่าง-แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2561-2565)
วัตถุประสงค์ สร้างภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน สามารถตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิผล (Customized Public Service) พัฒนาโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐให้ทันสมัย กะทัดรัด ปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (Agile Structure) และระบบงานภาครัฐมีผลสัมฤทธิ์สูง (High Performance Public Service) 3. พัฒนากำลังคนภาครัฐให้มีสมรรถนะสูง ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ และยึด มั่นในคุณธรรม พร้อมนำการพัฒนาประเทศ (Highly Competent Public Officials) 4. พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้สามารถดึงดูด รักษา จูงใจผู้มีความรู้ความสามารถสูง และส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 5. เพื่อสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมความซื่อสัตย์สุจริตบนหลักธรรมาภิบาล

4 -ร่าง-แผนปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
(พ.ศ – 2565) 1.คกก.นโยบายสุขภาพแห่งชาติ 2.ระบบสารสนเทศสุขภาพ 3.วางแผนกำลังคน 10.หลักประกันสุขภาพ 4. ความยั่งยืน&เพียงพอด้านการเงินการคลังสุขภาพ 1. ระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ การปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข 8.Health Literacy 9.คุ้มครองผู้บริโภค 4.ระบบบริการปฐมภูมิ 5.แพทย์แผนไทย 6.แพทย์ฉุกเฉิน 7.สร้างเสริมป้องกัน&ควบคุมโรค 2. ระบบบริการ สาธารณสุข 3. การคุ้มครองผู้บริโภคและผู้ให้บริการ การปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข คำนึงถึงองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ 1. ด้านระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ 2. ด้านระบบบริการสาธารณสุข 3. ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและผู้ให้บริการ 4. ด้านความยั่งยืน&เพียงพอด้านการเงินการคลังสุขภาพ และกำหนดประเด็นการปฏิรูป 11 ประเด็น แต่ เป้าหมายภาพรวม “ประชาชนทุกภาคส่วนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีส่วนร่วมในการวางระบบในการดูแลสุขภาพ ได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็น และอยู่ในสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ระบบสาธารณสุขที่เป็นเอกภาพและการอภิบาลระบบที่ดี”

5 ประเด็นการปฏิรูปด้านสาธารณสุขที่สำคัญและเกี่ยวข้อง
เป้าหมายระยะยาว 20 ปี ประชาชนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถเข้าถึงสารสนเทศเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสุขภาพ (Health Literacy) ประเด็นการปฏิรูปที่ 2 ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ เป้าหมายระยะสั้น 1 ปี - วางระบบการควบคุมกำกับและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) บนพื้นฐานของการพัฒนาตัวชีวัด (Key Performance Indicators: KPI) - มีกรณีตัวอย่างของการพัฒนา “ชุดสิทธิประโยชน์จำเพาะ (Specific Package)” ประเด็นการปฏิรูปที่ 4 ระบบบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัด ปริมาณข้อมูลสุขภาพที่เป็นเท็จและถูกเผยแพร่มีน้อยลง 2. ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพมากขึ้น 3. พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในประชาชนทุกกลุ่มวัยเพิ่มขึ้น 4. ประชาชนมีอัตราการเจ็บป่วยลดลง 5. ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายสุขภาพด้านการรักษาพยาบาลลดลง แผนปฏิรูปที่ฯ ศึกษาวิจัยเชิงประเมินผล:สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของปชช.ทุก 3 ปี 5 ปี 10 ปี พัฒนากำลังคนด้านการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ พัฒนากลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประเด็นการปฏิรูปที่ 8 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ

6 การสร้างเสริมป้องกันและควบคุมโรค ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ประเด็นการปฏิรูปที่ 7 การสร้างเสริมป้องกันและควบคุมโรค แผนการปฏิรูปฯ การปรับโครงสร้างภายใน กสธ. ทบทวนงาน P&P ที่หน่วยงานรับผิดชอบ กำหนดโครงสร้าง/อัตรากำลังที่เหมาะสมกับงาน ทบทวนบทบาทภารกิจและสัมฤทธิผลขององค์กรมหาชนที่เกี่ยวข้อง Competency mapping ของตำแหน่งงานด้าน P&P ค่าตอบแทนสำหรับบุคลากรสาขาขาดแคลนพิเศษ การพัฒนาระบบวิจัย การลงทุนเพื่อพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน ตัวชี้วัด 1) อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 2) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 3) DALYs averted 4) cost per DALYs averted ประเด็นการปฏิรูปที่ 8 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ปริมาณข้อมูลสุขภาพที่เป็นเท็จและถูกเผยแพร่มีน้อยลง 2. ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพมากขึ้น 3. พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในประชาชนทุกกลุ่มวัยเพิ่มขึ้น 4. ประชาชนมีอัตราการเจ็บป่วยลดลง 5. ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายสุขภาพด้านการรักษาพยาบาลลดลง แผนปฏิรูปฯ ศึกษาวิจัยเชิงประเมินผล:สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของปชช. ทุก 3 ปี 5 ปี 10 ปี พัฒนากำลังคนด้านการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ พัฒนากลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ

7 Thank you แหล่งที่มาข้อมูล : ร่างแผนปฏิรูปประเทศ โดยสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์: รัฐสภา หัวข้อ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ สภาพัฒน์ฯ


ดาวน์โหลด ppt การปฏิรูปประเทศไทย การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 4/2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google