งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พื้นที่เป็นฐาน สานทุกนโยบาย ห่วงใยสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พื้นที่เป็นฐาน สานทุกนโยบาย ห่วงใยสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พื้นที่เป็นฐาน สานทุกนโยบาย ห่วงใยสุขภาพ
Health in All Policies at the Region การประชุมวิชาการเขตสุขภาพที่ 2 21-22 เมษายน 2559 น.พ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พ.บ.,อ.ว., MPHM

2

3 The Helsinki statement on Health in All Policies
We call on governments to fulfil their obligations to their peoples’ health and well-being by taking the following actions: Commit to health and health equity as a political priority by adopting the principles of Health in All Policies and taking action on the social determinants of health. Ensure effective structures, processes and resources that enable implementation of the Health in All Policies approach across governments at all levels and between governments. Strengthen the capacity of Ministries of Health to engage other sectors of government through leadership, partnership, advocacy and mediation to achieve improved health outcomes. Build institutional capacity and skills that enable the implementation of Health in All Policies and provide evidence on the determinants of health and inequity and on effective responses. Adopt transparent audit and accountability mechanisms for health and equity impacts that build trust across government and between governments and their people. Establish conflict of interest measures that include effective safeguards to protect policies from distortion by commercial and vested interests and influence. Include communities, social movements and civil society in the development, implementation and monitoring of Health in All Policies, building health literacy in the population

4 Scope Health (Social) Determinants Health System Health Service
Medical Service

5 CONCEPT AND PRINCIPLES
HiAP is an approach to public policies across sectors that systematically takes into account the health implications of decisions, seeks synergies, and avoids harmful health impacts in order to improve population health and health equity.

6 Determinants of Health
conceptdraw.com

7 Determinants of Health
bchealthycommunities.ca Health Care

8

9 Social Determinants of Health
drawingchange.com

10 Money and Health

11 Primary Health Care Alma-ata Declaration 1978 Ottawa Charter 1986
Strategy – Advocate - Enable - Mediate Bangkok Charter 2005 Strategy – Partners & alliances - Invest - Regulate & legislate - Advocate - Building capacity

12 HITAP

13 พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550

14 6 ประเด็นสำคัญ Dr.Supakit Sirilak นิยาม “สุขภาพ”
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพ ธรรมนูญสุขภาพ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ

15 หมวด 1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ (ม.5-ม.12)
ม.5 มีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และ มีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่จะดำเนินการ ม.6 สุขภาพหญิงในด้านสุขภาพทางเพศฯ เด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มคนต่างๆที่มีความจำเพาะต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม ม.7 ได้รับการคุ้มครอง เรื่องข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล ม.8 บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการอย่างเพียงพอ เพื่อการตัดสินใจรับ/ไม่รับบริการ (ยกเว้นจำเป็น หรือ ไม่อยู่ในฐานะรับทราบได้) หากปฏิเสธการรับบริการ จะให้บริการนั้นไม่ได้

16 หมวด 1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ (ม.5-ม.12)
ม. 9 ผู้ประกอบวิชาชีพฯต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า และต้อง ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือก่อนใช้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัย ม. 10 หน่วยงานรัฐต้องเปิดเผยข้อมูลและวิธีป้องกันกรณีที่จะมีผลกระทบ ต่อสุขภาพให้ทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว ม. 11 บุคคลฯมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการ ประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ และ มีสิทธิ ได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ และแสดง ความเห็นของตนก่อนการอนุญาตฯ ม.12 มีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์ที่จะรับบริการสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือยุติการ ทรมานจากการเจ็บป่วย ทั้งนี้ การดำเนินการ ตามหนังสือแสดง เจตนาฯต้องกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการเป็นกฎกระทรวง

17 การแพทย์ และสาธารณสุข (Medicine and Public Health)
(ร่าง) แผนภาพแสดงกรอบแนวคิด และกลไกสำคัญในระบบสาธารณสุขและระบบสุขภาพแห่งชาติ การแพทย์ และสาธารณสุข (Medicine and Public Health) สุขภาพ 4 มิติ (สุขภาวะ) (Health/Well being) โรคติดเชื้อ&ไม่ติดเชื้อ วิทยาศาสตร์การแพทย์ โรคกาย-โรคจิต อาหารและยา การสาธารณสุข แพทย์แผนไทย อนามัยสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันโรค คุ้มครองผู้บริโภค รักษาพยาบาล กาย ใจ ปัญญา สังคม  โรคไม่ติดต่อ  อุบัติเหตุ  ความปลอดภัยทางอาหาร  สุขภาพเด็ก เยาวชน คนพิการ ด้อยโอกาส สูงวัย  FTA  ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ  แนวคิดทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ (Health in All Policies) ฯลฯ  ระบบบริการสาธารณสุข (Health Service System) ระบบสุขภาพแห่งชาติ (National Health System) ระบบสาธารณสุขแห่งชาติ (National Public Health System) นโยบายสาธารณสุข (Public Health Policy) เช่น  นโยบายขยายบริการสาธารณสุข  นโยบายการเงินการคลังสาธารณสุข  นโยบายลดโรคต่างๆ ฯลฯ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy) เช่น  นโยบายเกษตรปลอดภัย  นโยบายความปลอดภัยบนท้องถนน  นโยบายลดปัญหาแม่วัยใส ฯลฯ กลไกหลักของประเทศในงานสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health)  กลไกประสานสนับสนุนการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทุกมิติ คกก.สุขภาพแห่งชาติ (คสช./สช.) (National Health Commission) คกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) , คกก.กองทุน สสส. สพฉ. , สรพ, ฯลฯ อนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขต บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขของชาติและ Coverage plan วางกฎกติกาและการกำกับดูแลระบบสาธารณสุข บริหารทรัพยากรและระบบสาธารณสุขของรัฐ กลไกระดับชาติ (กสธ.หรือ คกก.นโยบายสาธารณสุขแห่งชาติ ? )  อภิบาลระบบสาธารณสุขโดยรัฐ (Governance by State) เกี่ยวข้องกับกรมต่างๆ , สภาวิชาชีพ, สถาบันผลิตบุคลากรสาธาณสุข, รพ.ตำรวจ/ทหาร/เอกชน /มหาวิทยาลัย , คลินิก , ร้านยา ฯลฯ  อำนาจตัดสินใจและบริหาร (Hard Power) เขตสุขภาพเพื่อประชาชน สมัชชาสุขภาพจังหวัด ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ เอชไอเอ เป็นต้น  อภิบาลระบบแบบเครือข่าย (Governance By Network) เกี่ยวข้องกับทุกกระทรวง, หน่วยงาน, เอกชน, อปท., ประชาสังคม, ชุมชนทุกภาคส่วน ฯลฯ  อำนาจทางสังคมจากพลัง การมีส่วนร่วม (Soft Power) -ธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ , -สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสาธารณสุข บริหารระบบบริการสาธารณสุข กลไกกลุ่มจังหวัด (อำพล : ปรับปรุง 14 มค.2559)

18 เท่าเทียม เป็นธรรม

19 คำตอบอยู่ที่ไหน?

20 ศาลปกครองพิพากษาสั่ง “อัคราไมนิ่ง” ระงับทำเหมืองทองคำในพื้นที่ส่วนขยาย
และห้ามใช้บ่อทิ้งเก็บกากแร่แห่งที่ 2

21 The proposal of HPPP Healthy Public Policy Tools EIA HIA SIA Mechanism
Health Assembly National Level Local Level Issue Specific Public Hearing Independent Body National Independent Body Public Policy Issue Healthy Public Policy Input Information Adequate Non-bias All dimensions Policy Options (Project) KM & Learning Networking Tools SEA HIA SIA Good Research ***

22 ต้นทุนข้อเสนอปฏิรูประบบสุขภาพ
สมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : HiAP.,Social Epidemiology, HIA. ระบบบริการสุขภาพ : DHS., Service plan, Long term care, เขตบริการสุขภาพ ทบทวน Med Hub แผนไทย พัฒนาระบบสนับสนุน ระบบกำลังคน : ดูทั้งระบบ ระบบการเงินการคลังและการประกันสุขภาพ : ลงทุน P&P เพิ่ม การจัดการหลักประกันมีส่วนร่วมมากขึ้น ขยายความครอบคลุม ปรับ พรบ.ผู้ประสบภัยจากรถ ระบบข้อมูล ระบบอภิบาลและการทำนโยบายสาธารณะ : กลไกบูรณาการ ถ่ายโอนสถานบริการ ปรับเป็นองค์กรมหาชน

23 ๑๑ มติที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพสังคมและสุขภาวะ
- มติ ๒.๙ การแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ๑) มติ - มติ ๑.๕ เกษตรและอาหารในยุควิกฤต - มติ ๕.๕ ความปลอดภัยทางอาหาร : การแก้ไขปัญหาจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช - มติ ๕.๘ การพัฒนากลไกและกระบวนการที่สามารถรับมือผลกระทบด้านสุขภาพจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอาหารและสินค้าเกษตร ที่เป็นอาหาร ๒) กลุ่มมติ เกษตร อาหาร และ โภชนาการ มี ๓ มติ - มติ ๑.๙ ผลกระทบจากสื่อต่อเด็กเยาวชนและครอบครัว - มติ ๕.๙ การจัดการสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก ๒๔ ชั่วโมง : กรณีเด็กไทยกับไอที ๓) กลุ่มมติ เด็กกับสื่อ มี ๓ มติ เจ้าภาพหลัก: คทง. ขับเคลื่อนมติฯการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน เจ้าภาพหลัก: คทง.ขับเคลื่อนมติฯพระสงฆ์กับการพัฒนาสุขภาวะ เจ้าภาพหลัก: คทง.ขับเคลื่อนมติฯ กลุ่มมติเกษตรและอาหารปลอดภัย ๑๑

24

25 จำนวนรถที่จดทะเบียนใหม่ ปี พ.ศ. 2555-2557 เขต 2
จำนวนรถที่จดทะเบียนใหม่ ปี พ.ศ เขต 2   More Threat แหล่งข้อมูล :: กรมการขนส่งทางบก

26 ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตแยกตามปัจจัยต่างๆ
วันที่เกิดเหตุ

27 ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตแยกตามปัจจัยต่างๆ

28 ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตแยกตามปัจจัยต่างๆ
? ?

29 1. Establish the need and priorities for HiAP
2. Frame planned action 3. Identify supportive structures and processes 4. Facilitate assessment and engagement 5. Ensure monitoring, evaluation, and reporting 6. Build capacity.

30 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt พื้นที่เป็นฐาน สานทุกนโยบาย ห่วงใยสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google