การแก้ไขปัญหาสิทธิสตรีด้วย หลักศาสนาอิสลาม มมศท 102
ในอดีต ในสังคมมีความคิดว่าเพศชายเป็นหัวหน้า เนื่องมาจากศักยภาพทางด้านร่างกาย ทำให้เพศหญิงไม่ได้รับสิทธิเท่าที่ควร ถูกกีดกันทางการศึกษา การทำงาน และโอกาสมีส่วนร่วมทางการเมือง รวมถึงการถูกกระทำต่างๆ สิทธิที่ไม่เท่าเทียม
ปัญหาการถูกล่อลวงไปใช้แรงงาน ปัญหาสิทธิสตรี ปัญหาเรื่องการถูกกดขี่ทางเพศ ปัญหาการถูกล่อลวงไปใช้แรงงาน ในต่างประเทศ ปัญหาการค้าประเวณี
ปัญหาเรื่องการถูกกดขี่ทางเพศ ความสำคัญ -1/3ของผู้หญิงทั่วโลกเคยได้รับประสบการณ์ถูกกระทำทางร่างกายหรือทางเพศจากคนใกล้ชิด -ผู้หญิงจำนวนหนึ่งต้องทนทุกทรมานกับการถูกกดขี่และไม่สามารถหลุดพ้น
สภาพปัญหา กรณีศึกษา -ในประเทศเยเมนมีกฏหมายว่า ผู้ชายสามารถแต่งงานกับเด็กผู้หญิงได้โดยไม่ผิดกฏหมาย -กฎหมายกำหนดว่า ต้องให้เด็กผู้หญิงโตก่อนถึงจะมีเพศสัมพันธ์ได้แต่ส่วนใหญ่ผู้ชายมักจะละเลย และไม่มีบทลงโทษผู้ชายที่ผิดกฏ -จึงพบเห็นเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ตั้งครรภ์อยู่บ่อยๆในประเทศแห่งนี้
หลักคำสอนของศาสนาอิสลามที่เกี่ยวข้อง -อิสลามมองว่าสถาบันการแต่งงานเป็นสิ่งที่สถาบันแห่งคุณความดีและมีความงดงาม ท่านนบี (ซ.ล.) กล่าวว่า “ผู้หญิงนั้นคือ คู่แฝดของผู้ชาย” ดังนั้น การพร้อมใจกันของทั้งสองเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความสุขและความมั่นคงในครอบครัว” ดังนั้น อิสลามจึงส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เลือกคู่ครองด้วยตัวเองควบคู่กับการเห็นชอบของผู้ปกครอง -อัล-กุรอ่าน กล่าวถึงการหย่าร้างว่าต้องเป็นไปด้วยความพอใจของทั้งสองฝ่าย “แต่ถ้าทั้งสอง (สามี-ภรรยา) ต้องการหย่า อันเกิดจากความพอใจและการปรึกษาหารือกันจากทั้งสองคนแล้ว ก็ไม่มีบาปใด ๆ แก่เขาทั้งสอง” (2: 227)
-เคยมีผู้หญิงที่ถูกพ่อแม่บังคับให้แต่งงานกับชายที่เธอไม่ชอบได้มาร้องเรียนต่อท่านนบี (ซ.ล.) และท่านยอมรับในการร้องเรียนและให้ยกเลิกการแต่งงานนั้น และสตรีมุสลิมยังมีสิทธิในการบอกเลิกสามีหากเธอไม่ได้รับการปฏิบัติที่ดี
วิเคราะห์ปัญหา หลักคำสอนของอิสลามสามารถสื่อได้ว่าเมื่อการปัญหาการกดขี่ทางเพศ หรือการกระทำๆก็ตามที่ถือว่าเป็นการปฏิบัติที่ไม่ดีต่อผู้หญิงสำหรับผู้หญิงนั้นสามารถบอกเลิกกับคู่สมรสได้ หากนำหลักคำสอนนี้มาใช้ ก็จะสามารถลดปัญหาการกดขี่ทางเพศจากคนใกล้ชิดได้
คู่สมรสที่เกิดปัญหาแยกกันอยู่(หย่า) ข้อสรุป คู่สมรสที่เกิดปัญหาแยกกันอยู่(หย่า) สามารถแก้ได้ด้วยหลักคำสอนที่ว่าสามารถบอกเลิกกับคู่สมรสได้ในกรณีที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เหมาะสม และการแต่งงานต้องพร้อมทั้งสองฝ่าย ปัญหาเกิดจากคนใกล้ชิด -การกดขี่ทางเพศ -การทำร้ายร่างกาย การลดลงของปัญหา
ข้อเสนอแนะ ในความเป็นจริงการจะแยกกันอยู่หรือหย่าเพื่อแก้ไขปัญหาอาจทำไม่ได้จริงๆเนื่องจากฝ่ายหญิงอาจจะต้องพึ่งพาฝ่ายชายหรือฝ่ายชายไม่ยอม ดังนั้นอาจจะต้องมีกระบวนการอื่นๆมาเพื่อช่วยแก้ปัญหา อย่างเช่น กระบวนการทางกฎหมาย
อ้างอิง http://writer.dekd.com/cammy/story/viewlongc.php?id=486572&chapter=221 http://www.oknation.net/blog/naichumpol/2009/05/15/entry-1 http://www.deklanghong.com/sites/default/files/cover-picture/20141121-thumb300x150.jpg https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5
สมาชิกกลุ่ม นางสาว กาญจนา แสงสว่าง 5824376 KAEG นางสาว ชนิกานต์ เหลืองอร่าม 5824080 KAAC นางสาว อรรจนา สังข์ฉายา 5824109 KAAC นางสาว ปพิชญา หล่อศุภสิริรัตน์ 5824026 KACB นางสาวณัฐภารัตน์ ศุภฤดี 5809297 NSNS นางสาวโมนิกา พรเจริญสุขกุล 5813361 EG นางสาวณัฐพร คำอุด 5826011 NW นางสาวณัฐรดา วิชานุชิต 5808020 PH นางสาวนิมิตรา ศรีมูล 5827008 AMPH นายภัทรดิฐษ์ ฟุ้งทวีวงศ์ 5808196 PHOH นางสาวกมลชนก วรสิทธิ์ 5808111 PH นางสาวพิมพ์กมล เทียมปาน 5808040 PH นายบัญญวัต ชอบใจ 5801152 SI นายชยางกูร ภูมิกำจร 5822021 PI นางสาวอรณัฐ นทีวัชระตระกูล 5802176 RA นายรชต บัวขาว 5803121 PY นางสาวอมรรัตน์ สุขโข 5828033 RAER นางสาวกนกนภา ศิริมา 5809269 NS นางสาวประภัสสร วงศ์ข้าหลวง 5805087 SC นายนฤสรณ์ วุฒิคุณากร 5803103 PY