การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
Developmental Surveillance & Promotion Manual (DSPM)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมคณะกรรมการ SP สาขาแม่และเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 8
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
รายงานผลการตรวจราชการรอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Excellence ที่ 1 Prevention & Promotion Excellence
Performance Agreement : PA ปี 2560
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
“สร้างชาติ…ด้วยการเล่น”
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การจัดทำหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีและผลการใช้หลักสูตรฯ ประจำปี 2559.
ยินดีต้อนรับ ทีมประเมินผลงาน รอบ ๖ เดือน ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ คบสจ.พิจิตร
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
แนวทางการดูแล Very High Risk Pregnancy ตาม Udon model 7 Step
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว 1. หญิงตั้งครรภ์ 1.1 มีกิจกรรมรณรงค์ แม่คนที่2 ท้องละ 100 เพื่อจูงใจให้ อสม.ในพื้นที่ค้นหาหญิงตั้งครรภ์และพามาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 1.2. มีกิจกรรมลดภาวะเด็กแรกเกิด ด้วยอาหารเสริม นมและไข่ 1.3. รณรงค์ฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ 1.4 ให้ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและไอโอดีน ตลอดการตั้งครรภ์ 1.5 ให้แคลเซี่ยม 625 มิลลิกรัม วันละ 1 เม็ด สัปดาห์ที่ 20 ของการตั้งครรภ์

การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว(ต่อ ) การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว(ต่อ ) มีการตรวจ U/S ในอายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์ทุกราย มีการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งคุณภาพ แจกหนังสือนิทาน ตามโครงการ เกิดปุ๊บ อ่านปั๊บ แก่เด็กแรกเกิดทุกราย มีการประชุมคณะกรรมการ MCH เพื่อวิเคราะห์และประเมิน สภาพปัญหางานอนามัยแม่และเด็กทุก 3 เดือน

การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว (ต่อ) การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว (ต่อ) 2. เด็กปฐมวัย 2.1 มีกิจกรรมให้วิตามินเสริมธาตุเหล็กแก่เด็ก 6 เดือน- 5 ปีทุกราย 2.2 เด็กทุกรายได้รับการตรวจพัฒนาการ 14 ช่วงวัย 2.3 เด็กที่มีพัฒนาการช้า ด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน ได้รับการกระตุ้นและประเมิน ต่อเนื่อง ภายใน 3 เดือน 2.4 เด็กทีได้รับการกระตุ้นและประเมินซ้ำที่พัฒนาการไม่ดีขึ้น ได้รับการส่งต่อไป รพ.ยโสธรทุกราย 2.5 มีการอบรมการตรวจพัฒนาการเด็ก DHPMและ DAIM แก่ครูศูนย์เด็กเล็ก และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ครบ 100 เปอร์เซนต์

ผลลัพธ์การดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลที่ได้ ร้อยละ 1.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 50 43 86 2.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพ 36 30 83.3 3. เด็กแรกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 1 2.78 4. เด็กปฐมวัยพัฒนาการสมวัย 574 556 96.8 5. เด็กพัฒนาการช้าได้รับการกระตุ้นและประเมินซ้ำ 18 100 6.เด็กที่ได้รับการกระตุ้น มีพัฒนาการดีขึ้น 16 88.9 7. เด็กที่มีพัฒนาการช้าได้รับการส่งต่อ 2