อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
Advertisements

อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน “ ” นาย / นางสาว รหัสประจำตัว กลุ่มเรียน ……………
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ส่วนประสมการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 12 นโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคาโดยผู้ผลิต
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
สาเหตุ ค่าเงินบาทแข็ง-อ่อน
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
เงินเฟ้อ Inflation.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
อ.พิมพ์ผกา วงศ์กองแก้ว
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
การหักภาษี ณ ที่จ่ายในธุรกรรม Bond Switching
บทที่ 7 งบประมาณ.
Production >> กระบวนการผลิต Distribution >> จัดจำหน่าย
ACCOUNTING FOR INVENTORY
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
ตลาดกลาง e-Marketplace
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงาน และภาวะเงินเฟ้อ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวข้อการนำเสนอรายงาน
การวางแผนกำลังการผลิต
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
Supply Chain Management
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Supply Chain Logistics
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 2 ความสำคัญและการคำนวณรายได้ประชาชาติ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )

ความหมาย อุปสงค์ (demand) “ ปริมาณสินค้า และบริการ 1) ชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อ(ปริมาณเสนอซื้อ) 2) ณ ระดับราคาต่างๆ 3) ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ”

ความสามารถที่จะซื้อ /อำนาจในการซื้อ อุปสงค์ ( demand ) ความเต็มใจที่จะซื้อ (willingness) ความสามารถที่จะซื้อ /อำนาจในการซื้อ (ability) demand + = WANT ความต้องการ + ศักยภาพในการซื้อ + ความยินดีที่จะจ่าย (want) (ability to pay) (willingness to pay)

เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้นปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง Demand;D แปรผกผันกับ Price ;P

ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ ราคาสินค้า และบริการที่ต้องการจะซื้อ (P) ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Y) รสนิยมของผู้บริโภค (T) ราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้อง (Py) - สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน - สินค้าที่ใช้ประกอบกัน จำนวนประชากร (N) ฤดูกาล (S)

ปริมาณ ตารางอุปสงค์ ราคา เส้นอุปสงค์ (demand curve) ราคา P Qd 1 2 3 4 5 6 10 15 20 25 30 ราคา (P) ปริมาณ (Qd) 5 6 10 15 4 20 3 25 2 30 1 demand จำนวนความต้องการ /ปริมาณ

อุปทาน ( supply ; S ) “ปริมาณสินค้า และบริการ 1) ชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้ผลิตต้องการที่จะขาย(ปริมาณเสนอขาย) 2) ณ ระดับราคาต่างๆ 3) ในเวลาใดเวลาหนึ่ง” ความหมาย

กฎของอุปทาน ผู้ผลิตสินค้าต้องการขายสินค้า จำนวนมาก + ราคาสูง กฎของอุปทาน ผู้ผลิตสินค้าต้องการขายสินค้า จำนวนมาก + ราคาสูง ( เพราะราคาสูงย่อมได้กำไรมากขึ้น )

ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปทาน ราคาสินค้า และบริการที่ต้องการจะขาย (P) กรรมวิธีในการผลิต (T) ราคาของปัจจัยการผลิต (Pf) ราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้อง (Py) - สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน - สินค้าที่ใช้ประกอบกัน การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (C) ภาษีและเงินช่วยเหลือ (W)

เส้นอุปทาน (supply curve) ตารางอุปทาน เส้นอุปทาน (supply curve) P Qs 5 6 7 8 9 10 12 14 16 18 20 Supply ราคา (P) ปริมาณ (Qs) 10 5 12 6 14 7 16 8 18 9 20

การกำหนดขึ้นเป็นภาวะดุลยภาพ ผลผลิตส่วนเกิน/อุปทานส่วนเกิน ราคา P Q S เป็นราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ E ( P ) ( E ) P เป็นราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ D ปริมาณ Q ความต้องการส่วนเกิน/อุปสงค์ส่วนเกิน

การกำหนดขึ้นเป็นภาวะดุลยภาพ ผลผลิตส่วนเกิน/อุปทานส่วนเกิน ราคา P Q S เป็นราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ A B E ( P ) ( E ) P C เป็นราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ D D ปริมาณ Q ความต้องการส่วนเกิน/อุปสงค์ส่วนเกิน

ภาวะดุลยภาพที่เกิดจากอุปสงค์และอุปทาน

ราคาดุลยภาพ คือ ราคา___บาท , ปริมาณดุลยภาพ คือ___หน่วย

ราคาที่สูงกว่าดุลยภาพ คือ .......บาท  เกิดผลผลิตส่วนเกิน

ราคาที่ต่ำกว่าดุลยภาพ คือ......บาท  เกิดความต้องการส่วนเกิน