อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ความหมาย อุปสงค์ (demand) “ ปริมาณสินค้า และบริการ 1) ชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อ(ปริมาณเสนอซื้อ) 2) ณ ระดับราคาต่างๆ 3) ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ”
ความสามารถที่จะซื้อ /อำนาจในการซื้อ อุปสงค์ ( demand ) ความเต็มใจที่จะซื้อ (willingness) ความสามารถที่จะซื้อ /อำนาจในการซื้อ (ability) demand + = WANT ความต้องการ + ศักยภาพในการซื้อ + ความยินดีที่จะจ่าย (want) (ability to pay) (willingness to pay)
เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้นปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง Demand;D แปรผกผันกับ Price ;P
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ ราคาสินค้า และบริการที่ต้องการจะซื้อ (P) ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Y) รสนิยมของผู้บริโภค (T) ราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้อง (Py) - สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน - สินค้าที่ใช้ประกอบกัน จำนวนประชากร (N) ฤดูกาล (S)
ปริมาณ ตารางอุปสงค์ ราคา เส้นอุปสงค์ (demand curve) ราคา P Qd 1 2 3 4 5 6 10 15 20 25 30 ราคา (P) ปริมาณ (Qd) 5 6 10 15 4 20 3 25 2 30 1 demand จำนวนความต้องการ /ปริมาณ
อุปทาน ( supply ; S ) “ปริมาณสินค้า และบริการ 1) ชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้ผลิตต้องการที่จะขาย(ปริมาณเสนอขาย) 2) ณ ระดับราคาต่างๆ 3) ในเวลาใดเวลาหนึ่ง” ความหมาย
กฎของอุปทาน ผู้ผลิตสินค้าต้องการขายสินค้า จำนวนมาก + ราคาสูง กฎของอุปทาน ผู้ผลิตสินค้าต้องการขายสินค้า จำนวนมาก + ราคาสูง ( เพราะราคาสูงย่อมได้กำไรมากขึ้น )
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปทาน ราคาสินค้า และบริการที่ต้องการจะขาย (P) กรรมวิธีในการผลิต (T) ราคาของปัจจัยการผลิต (Pf) ราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้อง (Py) - สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน - สินค้าที่ใช้ประกอบกัน การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (C) ภาษีและเงินช่วยเหลือ (W)
เส้นอุปทาน (supply curve) ตารางอุปทาน เส้นอุปทาน (supply curve) P Qs 5 6 7 8 9 10 12 14 16 18 20 Supply ราคา (P) ปริมาณ (Qs) 10 5 12 6 14 7 16 8 18 9 20
การกำหนดขึ้นเป็นภาวะดุลยภาพ ผลผลิตส่วนเกิน/อุปทานส่วนเกิน ราคา P Q S เป็นราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ E ( P ) ( E ) P เป็นราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ D ปริมาณ Q ความต้องการส่วนเกิน/อุปสงค์ส่วนเกิน
การกำหนดขึ้นเป็นภาวะดุลยภาพ ผลผลิตส่วนเกิน/อุปทานส่วนเกิน ราคา P Q S เป็นราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ A B E ( P ) ( E ) P C เป็นราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ D D ปริมาณ Q ความต้องการส่วนเกิน/อุปสงค์ส่วนเกิน
ภาวะดุลยภาพที่เกิดจากอุปสงค์และอุปทาน
ราคาดุลยภาพ คือ ราคา___บาท , ปริมาณดุลยภาพ คือ___หน่วย
ราคาที่สูงกว่าดุลยภาพ คือ .......บาท เกิดผลผลิตส่วนเกิน
ราคาที่ต่ำกว่าดุลยภาพ คือ......บาท เกิดความต้องการส่วนเกิน