ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด
ตัวชี้วัด (KPI) ระดับกสธ. กลุ่มเด็กวัยรุ่น (15 – 19 ปี) ตัวชี้วัด (KPI) ระดับกสธ. KPI ระดับเขตสุขภาพ KPI ระดับกรม 1)อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15 -19 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 ร้อยละของวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิด หลังคลอดหรือแท้งด้วยวิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวรก่อนออก จากโรงพยาบาล เขตบริการสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2558 ๑)อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 -19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15 19 ปี พันคน
อยู่ระหว่างรับประเมิน ข้อมูลกลุ่มวัยรุ่น จังหวัดเชียงใหม่ ตัวชี้วัด 2555 2556 2557 2558 อัตราการคลอดใน หญิง 15-19 ปี ไม่เกิน50ต่อประชากรหญิงอายุ15-19ปี 1,000คน 42.8 46.17 46.50 21.17 ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 ยังไม่เก็บรายงาน ไม่ได้เก็บรายงาน 14.02 13.59 รพ.มีคลินิกวัยรุ่นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 60 9 แห่ง ร้อยละ36 อยู่ระหว่างรับประเมิน 9 รพ.
ข้อมูลปี 2558 สถานการณ์และปัญหา รายงานสถานการณ์ปี 2558 จนถึงเดือนมีนาคม พบว่า อัตราคลอดมารดาอายุ 15-19 ปี มีหญิงวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี จำนวน 58,204 คน จากการจัดเก็บรายงานในโรงพยาบาล อัตราคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี เท่ากับ 886 คน คิดเป็นอัตรา 15.22 โดยอำเภอจอมทองมีอัตราคลอดสูงสุด (44.48) รองลงมาคืออำเภอฝาง (43.78) และอำเภอกัลยานิวัฒนา (35.23) อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15- 19 ปี มีหญิงอายุ 15-19 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตรทั้งหมด จำนวน 640 คน มีหญิงอายุ 15-19 ปี ที่ตั้งครรภ์ซ้ำ จำนวน 87 คน คิดเป็น ร้อยละ 13.59 (ตัวชี้วัด ไม่เกินร้อยละ 10 ) โดยอำเภอที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ซ้ำสูงสุด คือ อำเภอแม่แจ่ม (ร้อยละ 50) รองลงมาคือ อำเภอดอยสะเก็ด (ร้อยละ 28.57) และอำเภอสันทราย (ร้อยละ 25.93)
แนวทางการทำงาน 1.ประสานงานกับทุกภาคส่วนเพื่อชี้แจงและถ่ายทอดรายละเอียดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่น /การพัฒนาสู่ อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ปี 2558 2. มีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน และคณะทำงานในระดับอำเภอ ระดับจังหวัด 3. จัดทำแผนปฏิบัติการและโครงการพัฒนาบริการสุขภาพกลุ่มวัยรุ่นระดับอำเภอ ปี 2558 4. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและแนวทางจัดการระบบรายงานข้อมูล ดังนี้ -วิเคราะห์สถานการณ์อัตรามารดาคลอดอายุ 15-19 ปี และการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาอายุ 15-19 ปี แยกรายอายุ -วิเคราะห์สถานการณ์แยกตามประเภทสถานะ เช่น กำลังศึกษาในสถานศึกษา ,ศึกษานอกระบบการศึกษา ฯลฯ -วิเคราะห์สถานการณ์แยกตามประเภทสิทธิการรักษา เช่น บัตรทอง บัตรประกันสุขภาพ ฯลฯ -วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่เข้ารับบริการในหน่วยบริการ แนวทางช่วยเหลือ แนวทางส่งต่อ สรุปผลรายงาน 5. สนับสนุนการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่น /การพัฒนาสู่อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในด้านบริหารและด้านวิชาการ ร่วมกับภาคี เครือข่ายในพื้นที่ 6. ร่วมทีมกับคณะกรรมการประเมินคลินิกวัยรุ่น / การพัฒนาอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ นิเทศติดตามการดำเนินงานพัฒนา ระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น ในโรงพยาบาลและอำเภอ 9 อำเภอที่จะรับการประเมินมาตรฐาน และติดตามงานปกติ ในทุกอำเภอ 7. ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการฯ จากระบบรายงานตามไตรมาส 8. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ ในอำเภอที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อรับทราบปัญหาและ ปรับปรุงแนวทางการทำงาน นำเสนอการพัฒนาส่วนขาด ให้พื้นที่รับทราบ และปรับแก้ไขในการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง 9. นิเทศงาน ควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผล และรวบรวมข้อมูลเป็นระบบรายงาน 10. สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 ที่เป็นปัจจุบัน ครบถ้วน ตรวจสอบได้
แผนปฏิบัติการพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ขั้นตอน กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค กค สค กย ๑ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “วิเคราะห์สภาพปัญหา................................. ๒ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “เรื่องระบบรายงาน...................... ๓ นิเทศติดตาม/.................................................. ๔ จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เรื่องน่ารู้ที่เกี่ยวข้อง........................................