Database Management System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ผู้วิจัย รุจิรัชช์ญานันท์ ชัยแก้ว
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
วิชา เขียนแบบไฟฟ้า รหัส ท-ป-น (0-4-2)
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน ( เล่ม 6) “ ” นางสาว รหัสประจำตัว กลุ่มเรียน ……………
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
CHAPTER 11 Database Design. 2 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Agenda Data Organization Relational Database Entity,
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
Entity-Relationship Model
ฐานข้อมูล.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การทำ Normalization 14/11/61.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 5 แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ
Key Performance Indicators (KPI)
Database design E-R Diagram
Entity – Relationship Model
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
บทที่ 5 การจำลองข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-Oriented Modeling)
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
การวิเคราะห์ความต้องการ
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Class Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Database Management System Chapter 4 E-R Diagram Adisak Intana Lecturer ER Diagram

แบบจำลองอี-อาร์ แบบจำลองอี-อาร์ (Entity-Relationship model - E-R Model) ถูกคิดค้นและเสนอแนะโดย Prof. Chen การอธิบายภาพรวมข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลแสดงด้วยแผนภาพอี-อาร์ (E-R diagram) ER Diagram

องค์ประกอบของแบบจำลองอี-อาร์ กลุ่มของสิ่งที่เราสนใจ กลุ่มของสิ่งที่เราสนใจ (entity type) ประกอบด้วยสิ่งที่เราสนใจ (entity) ได้แก่ คน สัตว์ สิ่งของ แบบฟอร์ม สถานที่ หรือเหตุการณ์ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมีคุณสมบัติประจำตัวที่แตกต่างกัน กลุ่มของความสัมพันธ์ กลุ่มของความสัมพันธ์ (relationship type) ประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่เราสนใจ (relationship) แต่ละความสัมพันธ์จะมีคุณสมบัติเฉพาะตัว ที่บ่งบอกถึงกฏเกณฑ์ ข้อกำหนด ความหมาย และรายละเอียดที่เกิดจากความสัมพันธ์นั้น ๆ ER Diagram

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ แทน สิ่งที่เราสนใจ หรือ เอนทิตี (entity) แทน ความสัมพันธ์ โดยมีเส้นเชื่อมบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ที่อาจเป็นไปได้ ER Diagram

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ one-to-one ใช้ one-to-many ใช้ 1 M many-to-one ใช้ M 1 many-to-many ใช้ N M ER Diagram

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ นักศึกษา อาจารย์ M 1 เป็นที่ปรึกษา นักศึกษา 1 คนมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้คนเดียว อาจารย์ 1 คนเป็นที่ปรึกษานักศึกษาได้หลายคน ER Diagram

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ แทน เอนทิตี้ที่ขึ้นอยู่กับเอนทิตี้อื่น เรียกว่า Week Entity ER Diagram

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ รายวิชา M 1 เวลาเรียน มี รายวิชา 1 รายวิชามีได้หลายเวลาเรียน เวลาเรียนแต่ละช่วงเวลาเรียนจะขึ้นอยู่กับเพียงแค่ 1 รายวิชา เวลาเรียนจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีรายวิชา ER Diagram

แทน แอตทริบิว (attribute) เช่น แทน แอตทริบิวกุญแจ (key attribute) เช่น สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ แทน แอตทริบิว (attribute) เช่น ชื่อนักศึกษา นักศึกษา 2222 แทน แอตทริบิวกุญแจ (key attribute) เช่น รหัสนักศึกษา นักศึกษา ER Diagram

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบจำลองอี-อาร์ แทน แอตทริบิวที่มีได้หลายค่า (multivalued attribute) เช่น วิชาบังคับก่อน รายวิชา อายุ แทน แอตทริบิวที่ได้ขึ้นใหม่ (derived attribute) เช่น นักศึกษา วันเกิด ER Diagram

ตัวอย่างแบบจำลองอี-อาร์ ตัวอย่างเช่น นักศึกษาหนึ่งราย : หัสนักศึกษา (ID#) ชื่อ-นามสกุล (SNAME) เพศ (SSEX) อาจารย์หนึ่งราย : รหัสอาจารย์ (T#) ชื่อ-นามสกุล (TNAME) เพศ (TSEX) ER Diagram

ตัวอย่างแบบจำลองอี-อาร์ ตัวอย่างเช่น รายวิชาหนึ่งรายวิชา : รหัสวิชา (SUBJ#) ชื่อวิชา (SUBJ-NAME) รายวิชาบังคับก่อน (PRE- SUBJ#) ER Diagram

ตัวอย่างแบบจำลองอี-อาร์ T# TNAME TSEX ID# SNAME SSEX เป็นที่ปรึกษา M 1 อาจารย์ นักศึกษา N M ลงทะเบียนเรียน สอนโดย M N รายวิชา SUBJ# SUBJ-NAME PRE-SUBJ# ER Diagram