คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประจำ 10 รวม 35 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ 2 (1. นางศรินทร์ เจริญผล.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2019 พนักงานราชการ 44 ลูกจ้างประจำ 11 รวม 3534 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง 1 เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประ จำ 10 รวม 35 อัต รา ข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ไปช่วย ราชการ 2 (1. นางศรินทร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อมูลสถานะสุขภาพ อำเภอสำโรง คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอสำโรง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานสถานการณ์E-claim
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ จังหวัดอำนาจเจริญ 16-18 กรกฎาคม 2557

7 ประเด็นในการตรวจราชการ 3.1 การจัดทำแผนกลยุทธ์หรือแผนสุขภาพ 3.2 การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคลของเขต บริการสุขภาพ 3.3 การบริหารจัดการงบประมาณและการเงินการคลัง 3.4 การบริหารเวชภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3.5 การควบคุมภายใน 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ 3.7 การสื่อสารและสารนิเทศ

การบริหารจัดการ ทรัพยากรบุคคล จังหวัดอำนาจเจริญ

(302) มีแผนกำลังคนและดำเนินการตามแผน - มีการบริหารจัดการ การกระจายบุคลากรในเขต /จังหวัด - มีการใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน ประเด็นการตรวจ การบริหารจัดการ การกระจายบุคลากรในจังหวัด การใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน การใช้ FTE การบริหารจัดการ labor cost ที่เหมาะสมตามสถานการการเงิน

ผลการดำเนินงานของจังหวัดอำนาจเจริญ เป็นดังนี้ การบริหารจัดการ และการกระจายบุคลากรภายในจังหวัด มีการวางแผนกำลังคน 5 ปี ตั้งแต่ ปี 2556-2560 ได้มีการดำเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการระดับจังหวัด มีคณะกรรมการพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุข มีคณะกรรมการคัดเลือกลูกจ้างชั่วคราวเป็น พกส. มีการใช้โปรแกรมระบบบริหารงานบุคคล และโปรแกรมระบบข้อมูลลูกจ้างชั่วคราว

การใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน - มีการจัดทีมแพทย์ ทันตแพทย์ และพยาบาล ไปให้บริการที่ รพ.สต ภายใน cup เดียวกัน สัปดาห์ละประมาณ 1-2 ครั้ง - รพ.อำนาจเจริญได้รับความช่วยเหลือแพทย์สาขาที่ขาดแคลน เช่น อายุรกรรมและอายุรแพทย์โรคไต จาก รพ.50 พรรษา สาขาจิตเวช จาก รพ.ศรีมหาโพธิ์ และสาขากุมารโรคหัวใจ จาก รพ.สรรพสิทธิ ประสงค์ การใช้ FTE - มีการใช้ FTE และ Population-based ในการจัดสรรตำแหน่งเพื่อบรรจุ ลูกจ้างชั่วคราว / พนักงานราชการ เป็นข้าราชการ และการบรรจุ ลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข มีการใช้ FTE และ Population-based ในการวิเคราะห์และจัดทำกรอบอัตรากำลังบุคลากร ของหน่วยบริการระดับต่าง ๆ ทั้งในสายงานบริการเฉพาะด้าน และสายสนับสนุน มีการใช้ FTE ในการตัดโอนตำแหน่งและการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง

การวางแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทั้งสายวิชาชีพและอื่นๆ ตาม Service Plan มีการวางแผนการรับสมัคร/ฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง สาขาขาดแคลนอย่างเป็นระบบ มีการจัดทำแผนประจำปีเพื่ออบรมบุคลากรในด้านต่าง ๆ และดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้

สรุปประเด็นปัญหาในการบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคลของจังหวัดอำนาจเจริญ - การนำ FTE มาบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล มีปัญหา กรณีที่มีการสำรวจในระยะเวลาที่จำกัด ทำให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจไม่ตรงกัน ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการลงข้อมูล เป็นผลให้ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจบุคลากรไม่สอดคล้องกับปัญหาและความเป็นจริงเท่าที่ควร - ขอให้เตรียมข้อมูลให้พร้อมเพื่อจัดทำ FTE รอบ 2 ในช่วง เดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2557 นี้

ประเด็นที่ต้องดำเนินการต่อ เนื่องจาก Labor cost ของสถานบริการเกินเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลต่อสถานะการเงิน จึงขอให้ดำเนินการตามมติคณะกรรมการ เขตบริการสุขภาพที่ 10 อย่างเคร่งครัด โดย ให้ทบทวนการจ่ายค่าตอบแทนให้เหมาะสมตาม สถานะการเงินการคลังของหน่วยบริการ ในสถานบริการที่มีวิกฤติทางการเงินห้ามจ้าง ลูกจ้างชั่วคราวเพิ่ม การจ้างลูกจ้างชั่วคราวรายใหม่ของทุกหน่วย บริการต้องได้รับอนุมัติจาก นพ.สสจ.ก่อน จึงสามารถจ้างได้

การบริหาร ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จังหวัดอำนาจเจริญ

จังหวัดอำนาจเจริญ รอบ 2/2557 เป้าหมายลดต้นทุนจัดซื้อ -ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา -วัสดุการแพทย์ วัสดุทันตกรรม วัสดุ X-ray และวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์(ชันสูตร)

ต้นทุนจัดซื้อภาพรวมทั้งจังหวัด ต้นทุนจัดซื้อทั้งจังหวัด มูลค่าการจัดซื้อ 3 ไตรมาส ร้อยละเปรียบเทียบปี 56 และ ปี 57 ผลประเมิน ปี 2556 ปี 2557 ยา 84,307,847.96 86,654,041.13 +2.78 X เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 29,852,836.13 29,129,988.23 - 2.42 วัสดุชันสูตร 25,745,794.90 22,984,036.20 - 10.73 / รวมทั้ง 3 หมวด 139,906,478.99 138,768,065.56 -0.81

อัตราคงคลังภาพรวมทั้งจังหวัด ประเภทเวชภัณฑ์ อัตราคงคลังเฉลี่ย ผลประเมิน ยา 2.15 / เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 2.05 วัสดุชันสูตร 0.76

ข้อสั่งการในการตรวจราชการ รอบ 1 ปี 2557 ข้อเสนอแนะ การให้โรงพยาบาลจังหวัดเป็นคลังสำรองยาที่ใช้น้อย จัดซื้อยาก โดยใช้การจัดสรรงบประมาณร่วมด้วย

ผลการดำเนินการตามข้อสั่งการ พบว่ามีการดำเนินการโดยให้ รพ.อำนาจเจริญ จัดทำ Vendor list และมีการแลกเปลี่ยนยาที่มีมูลค่าเท่ากัน ระหว่าง รพ. ที่เป็นรูปธรรมชัดเจน มีการดำเนินการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทที่ชัดเจน เช่น รพ.ชานุมาน มีการวิเคราะห์และพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารเวชภัณฑ์ ในภาวะวิกฤติทางการเงิน ทำให้สามารถลดต้นทุนมูลค่าการจัดซื้อได้ทุกหมวดเวชภัณฑ์ ได้แก่ ยา (ลดลง 45.98%)เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (ลดลง 23.38%)และวัสดุชันสูตร (ลดลง 28.23%)

สิ่งที่น่าชื่นชม มีการกำกับ ติดตาม การบริหารจัดการคลังในโรงพยาบาลทุกแห่งและทุกคลังเวชภัณฑ์ ทำให้อัตราคงคลังผ่านเกณฑ์ (ประมาณ 1-2 เดือน) มีการจัดซื้อร่วมจังหวัดในทุกหมวดเวชภัณฑ์ ได้แก่ ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุทันตกรรม และวัสดุชันสูตร 16

ข้อสังเกตจากการตรวจราชการ รอบ 2/2557 มูลค่าจัดซื้อยาภาพรวมจังหวัดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.78 มูลค่าจัดซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ภาพรวม จังหวัด ลดลงร้อยละ 2.42 มูลค่าจัดซื้อวัสดุชันสูตร ภาพรวม จังหวัด ลดลงร้อยละ 10.73 ภาพรวมจัดซื้อทั้ง 3 หมวด ลดลงร้อยละ 0.81 17

ข้อสังเกตเพิ่มเติม รอบ 2 /2557 มี รพ. 3 แห่งที่มูลค่าการจัดซื้อยาเพิ่มขึ้นมาก ได้แก่ รพ.ลืออำนาจ (+45.13%) รพ.ปทุมราชวงศา (+30.86%) และรพ.หัวตะพาน (+13.42%) รพ.ปทุมราชวงศา มีมูลค่าการจัดซื้อเพิ่มขึ้นในทุกหมวด ได้แก่ ยา (+30.86%) เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา(+36%) วัสดุชันสูตร(+8.47%) 18

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ควรมีการศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาในเชิงลึกของโรงพยาบาลที่ยังมีการเพิ่มต้นทุนอย่างต่อเนื่องในทุกหมวดเวชภัณฑ์ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารด้านเวชภัณฑ์ภายใต้บริบทที่มีข้อจำกัด โดยให้โรงพยาบาลที่สามารถดำเนินการได้ดี (รพ.ชานุมาน) ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนประสบการณ์

การบริหารจัดการ งบประมาณการเงินการคลัง จังหวัดอำนาจเจริญ

สถานการณ์การเงินการคลังปี 2556-2557 หน่วยบริการในเขตบริการสุขภาพที่ 10

รายงานจำนวนโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 วิกฤติ ระดับ 7 ปี2556 รายงานจำนวนโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 วิกฤติ ระดับ 7 ปี2556 จังหวัด   ไตรมาส 1/56 Risk Scoring ระดับ 7 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 1 ศรีสะเกษ 2 อุบลราชธานี 10 12 13 7 3 ยโสธร 4 5 อำนาจเจริญ 6 มุกดาหาร รวมระดับ 7 22 26 17 รวมทั้งหมด 64 % ระดับ 7 20.31% 34.38% 40.63% 26.56% เป้าหมาย ระดับ 7 <10%

รายงานจำนวนโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 วิกฤติ ระดับ 7 ปี2557 รายงานจำนวนโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 วิกฤติ ระดับ 7 ปี2557 จังหวัด   ไตรมาส 1/57 Risk Scoring ระดับ 7 ไตรมาส 2/57 พค.57 ไตรมาส 4/57 1 ศรีสะเกษ 2 อุบลราชธานี 13 9 3 ยโสธร 4 อำนาจเจริญ 5 มุกดาหาร รวมระดับ7 19 15 21 รวมทั้งหมด 71 % ระดับ 7 26.76 21.12 29.57 เป้าหมาย ระดับ 7 <10%

คณะกรรมการ CFO เขต 10 จัดทำแผน ลงพื้นที่ตรวจสอบ ข้อมูลการเงินและบัญชีโรงพยาบาล ครอบคลุม 100% จำนวน 15 แห่ง 2.ทีม CFO จังหวัด-ตรวจสอบรพ.ที่เหลือในจังหวัด 3.กำหนดแล้วเสร็จภายใน 15 สค. 57

แนวทางการตรวจสอบรพ.วิกฤติทางการเงิน ของ CFO เขต 1.ความถูกต้องและน่าเชื่อถือของบัญชีและรายงานการเงิน 2.ประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายใน 3.ผลการวิเคราะห์ด้านการเงินการคลัง 3.1ประสิทธิภาพการให้บริการตามศักยภาพของรพ. 3.2ตัวชี้วัดด้านการเงินการคลังเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี 3.3การปฏิบัติตามแผนเงินบำรุงปี2557 3.4เปรียบเทียบผลงานบริการ/รายได้/ค่าใช้จ่าย/การบริหาร จัดการด้านยา-Lab –วัสดุอื่นๆ ตามกลุ่มรพ.ภายในเขต 3.5ความเป็นไปได้ของแผนเพิ่มประสิทธิภาพ/มาตรการที่รพ. กำหนดเพื่อแก้ปัญหาทางการเงิน 3.6ข้อคิดเห็นของCFO ต่อการให้ความช่วยเหลือและแก้ปัญหา ทางการเงินของรพ.

26 พค.57 -รพ.วารินชำราบ จ.อุบลฯ 10 มิย.57 -รพ. 50 พรรษาฯ จ.อุบลฯ ผลการลงพื้นที่ตรวจสอบข้อมูลการเงินและบัญชี รพ.วิกฤติระดับ 7 ของ CFO เขต 26 พค.57 -รพ.วารินชำราบ จ.อุบลฯ 10 มิย.57 -รพ. 50 พรรษาฯ จ.อุบลฯ 25 มิย.57 -ตระการพืชผล จ.อุบลฯ 3 กค.57 -รพ.นิคมคำสร้อย จ.มุกดาหาร 7 กค.57 -รพ.เขมราฐ จ.อุบลฯ

สาเหตุหลักที่ ร.พ. มีวิกฤติการเงินการคลัง สาเหตุทางด้านบัญชี ไม่ถูกต้อง สาเหตุด้านการบริหารจัดการ 2.1 นโยบายและระบบการจัดสรรงบแม่ข่าย-ลูกข่าย ด้านการเงินการคลังในเครือข่าย 2.2 การบริหารจัดการภายในโรงพยาบาล เช่น มีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรสูง , การควบคุมภายใน การก่อหนี้ของหน่วยจัดซื้อ , อัตราการสำรองคลังวัสดุสูง 2.3 ศักยภาพและด้านทรัพยากร ทำเล พื้นที่ บุคลากร ครุภัณฑ์ มีการส่งต่อผู้ป่วย Refer มาก 2.4 การควบคุมกำกับแผนการเงินการคลัง ยังขาดประสิทธิภาพ เช่น ประสิทธิภาพการเรียกเก็บลูกหนี้ , ใช้จ่ายเงิน ไม่เป็นไปตามแผน 3. นโยบายและปัจจัยอื่น ๆ : การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร เพิ่มขึ้น : ปริมาณผู้ป่วยนอก (UC OP) เพิ่มขึ้น : การแยกหน่วยบริการเพิ่ม (CUP Split) ในเครือข่ายเดียวกัน : โครงการฯ ตามนโยบายส่วนกลางเพิ่ม ทำให้ใช้ทรัพยากร วสด. ในการบริการเพิ่มขี้น / การตรวจรับรองคุณภาพ

รายงานผลการตรวจสอบบัญชี ทีม CFO เขตลงพื้นที่ ร.พ. หัวตะพาน วันที่ 17 ก.ค. 2557

ข้อมูลพื้นฐานรพ.หัวตะพาน 1.รพช.F2 ขนาด 30 เตียง 2.รพ.สต.ลูกข่าย 11 แห่ง 3.ประชากร 51,854 คน (UC 38,000 คน) 4.บุคลากรหลัก แพทย์ 4 คน/ทันตแพทย์ 3 คน เภสัชกร 3 คน/พยาบาล 58 คน 5.ผลงานบริการ -OPD visit 7,000 /เดือน -อัตราครองเตียง 115.47% / CMI 0.61

สถานะการเงินรพ.หัวตะพาน ณ 31 พค.57 1.เงินสด 800,000.- 2.หนี้สิน 24,000,000.- 3.ค่าเสื่อม 2,900,000.- (คงเหลือ 30,000.-) 4.ผลการดำเนินงาน 8 เดือน -5,072,282.01.- 5.ทุนสำรองสุทธิ -19,619,584.29.-

ผลการตรวจสอบข้อมูลการเงินและบัญชี ยังไม่ถูกต้องครบถ้วน ------------------------------------------ สาเหตุ 1.การบันทึกบันชีผิดหมวด/ประเภท 2.ขาดการสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน 3.ความเสี่ยงทางการบริหาร -การบริหารการเงินการคลัง -การบริหารพัสดุ “ไม่ทุจริต แต่ ผิดระเบียบ”

ข้อเสนอแนะ 1.ให้จัดทำแผนประมาณการรับ-จ่าย ใน Planfin ครอบคลุม ทุกแหล่งเงิน ทั้งรายรับและรายจ่าย 2.ให้มีการวางระบบไหลเวียนข้อมูลที่เกี่ยวข้องเข้าสู่ระบบบัญชี และสอบทานข้อมูลให้ถูกต้อง ก่อนส่งบัญชี ตั้งแต่ระบบจัดซื้อ คลัง ศูนย์รายได้ ฯลฯ 3.ให้งานบัญชี ซักซ้อมและทำความเข้าใจและวิเคราะห์รายการ ในการลงบันทึกบัญชีให้ถูกต้อง 4.ให้ รพ. เร่งดำเนินการ จัดทำบัญชีตามนโยบายบัญชี ให้ถูกต้อง ภายในวันที่ 30 ก.ค. 57 และ รายงานให้จังหวัด/ เขตทราบด้วย 5.จังหวัดควรควบคุมกำกับให้รพ.ทุกแห่งบันทึกบัญชีให้ถูกต้อง เป็นไปตามนโยบายบัญชี สธ. โดยเคร่งครัด

“ร่วมด้วยช่วยกัน”