รางวัลการพัฒนาระบบราชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การสมัครขอรับรางวัล ด้านการพัฒนาระบบราชการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย การประชุมคณะกรรมการกพร.กรมอนามัย 9 ธันวาคม 2557.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ด้านการพัฒนาระบบราชการ การประชุมเครือข่าย กพร. กรมอนามัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
รางวัลด้านการพัฒนาระบบราชการ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รางวัลการพัฒนาระบบราชการ 1. รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) 2. รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 3. รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Thailand Excellent Participatory Governance Awards) เอกสารประกอบการประชุมการพัฒนาองค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ของหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 วันที่ 18-20 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมอิงธารรีสอร์ท จังหวัดนครนายก

รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 1 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA)

ประเภทรางวัล 2559 2555 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด (หมวด 1 – หมวด 6) การรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 2559 ผ่านการรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 2555 3

เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ กรมอนามัย พัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ฯ ระดับ พื้นฐาน ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน ปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง/โดดเด่น รายหมวด รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2559-2563 2559 2552-2554 2555 4

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 2 รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 5

ประเภทรางวัลที่สมัครได้ 1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ ครอบคลุมทุกหน่วยบริการสาขา 2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ ทำงานร่วมระหว่างหน่วยงาน/องค์กรอื่น 3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ เสนอแนวคิดใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ 4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ พัฒนาบริการ อย่างต่อเนื่อง 5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม ได้ข้อ 1 2 และ 3/4 อย่างน้อย 3 ด้าน 6. รางวัลพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง ได้ระดับดีเด่น ต่อเนื่อง 3 ปี 6

1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากการนำมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงานที่ ได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติแล้ว ไปขยายผลในทุกหน่วย บริการสาขา เพื่อให้การบริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมี เจตนารมณ์เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดี มีมาตรฐานเดียวกัน ทุกหน่วยบริการ เงื่อนไข เป็นผลงานที่เป็นภารกิจหลักสำคัญของหน่วยงาน และเคยได้รับรางวัลคุณภาพการ ให้บริการประชาชน หรือรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ระดับดีเด่นหรือรางวัลอื่น ๆ ทั้งในและต่างประเทศ หรือเป็นผลงานที่ได้รับการยอมรับจากสาธารณะ และไม่เคย ได้รับการร้องเรียน เป็นผลงานที่มีการให้บริการในหน่วยบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของหน่วยบริการ ทั่วประเทศ เป็นผลงานที่สามารถแสดงผลการให้บริการที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกหน่วย บริการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการนำผลงานไปใช้แล้วจริง เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี 7

2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการให้บริการที่เป็นความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานของรัฐอย่างน้อย 3 หน่วยงาน เพื่อพัฒนาบริการภายใต้เป้าหมายเดียวกัน โดยมีเจตนารมณ์เพื่อผลักดันให้หน่วยงานเกิดความร่วมมือกันปรับปรุงบริการ ลดขอบเขตอำนาจเพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน เงื่อนไข เป็นการปรับปรุงบริการที่เกิดจากการทำงานร่วมกันไม่น้อยกว่า 3 หน่วยงาน(ส่วน ราชการอย่างน้อย 2ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐประเภทอื่น เช่น อปท. องค์การ มหาชน รัฐวิสาหกิจ และ/หรือองค์กรต่างๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน) มีการจัดทำเป็นข้อตกลงการดำเนินการร่วมกัน มีผลการดำเนินการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของข้อตกลงและเป้าหมายของการ ปรับปรุงบริการ เป็นผลงานที่มีการดำเนินการเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี มีแผนการดำเนินการร่วมกันตั้งแต่เริ่มโครงการ ที่ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละ หน่วยงานไว้อย่างชัดเจน 8

3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการที่แสดงถึงการสร้างสรรค์งานบริการ หรือคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ในการให้บริการประชาชน โดยมีเจตนารมณ์เพื่อให้หน่วยงานสร้างสรรค์รูปแบบการให้บริการใหม่ ๆ โดยต้องมีผลลัพธ์ของการดำเนินการอย่างชัดเจนในการให้บริการประชาชน เงื่อนไข 1. เป็นผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ (ไม่เคยเกิดขึ้นในเมืองไทยมาก่อน) - นำเทคนิคการบริหารจัดการ เครื่องมือ หลักการใหม่ๆมาใช้ แล้วก่อให้เกิดงานบริการ หรือรูปแบบการให้บริการใหม่ หรือกระบวนการทำงานใหม่ - มีการจดสิทธิบัตร /อนุสิทธิบัตร /ลิขสิทธิ์ 2. เป็นผลงานที่คิดค้นมาไม่เกิน 3 ปี 3. มีการนำผลงานไปใช้แล้วจริง เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และได้รับการยอมรับจาก สาธารณะ 4. นวัตกรรมการบริการจะต้องมีผลต่อประสิทธิภาพและคุณภาพของระบบการบริหารจัดการ และการให้บริการประชาชน 9

4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการปรับปรุงการให้บริการประชาชน แล้วส่งผลให้เกิดการพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ด้วยการนำหลักการ แนวคิด เทคนิค เครื่องมือต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการให้บริการ โดยมีเจตนารมณ์เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานพัฒนาคุณภาพการบริการที่ตอบสนองและทันต่อความต้องการของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดีขึ้น เงื่อนไข เป็นการพัฒนาการให้บริการ โดยการนำหลักการ แนวคิด เทคนิค เครื่องมือ มาประยุกต์ใช้ มีการนำผลงานไปใช้แล้วจริงเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี ลักษณะผลงานที่เสนอจะต้องไม่เป็นรูปแบบเช่นเดียวกับผลงานที่เคยได้รับ รางวัลแล้ว หรือหากมีรูปแบบคล้ายคลึง จะต้องมีการต่อยอดการพัฒนาที่ดี ขึ้น สามารถตรวจสอบรายชื่อผลงาน ที่เคยได้รับรางวัล ได้จากเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. : www.opdc.go.th

5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม พิจารณาให้แก่หน่วยงานที่มีผลงานได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติระดับดีเด่นในปีเดียวกัน อย่างน้อย 3 ประเภทรางวัล ได้แก่ รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ และรางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ หรือรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ ข้อ 1 + ข้อ 2 + ข้อ 3 หรือข้อ 4 อย่างน้อย 3 ด้าน 11

ข้อ 1/ ข้อ 2/ ข้อ 3 /ข้อ 4 ระดับดีเด่น 6. รางวัลพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง พิจารณาจากการดำเนินการรักษาคุณภาพ และมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงานไม่น้อยกว่า 3 ปี นับตั้งแต่ผลงานได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555) เงื่อนไข เป็นผลงานที่เคยได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ระดับดีเด่น (ใน 4 ประเภทรางวัล) สามารถให้บริการได้ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานที่เคยได้รับรางวัล อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี โดยต้องนำเสนอให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมถึงวิธีการในการรักษาคุณภาพ และมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงาน หน่วยงานต้องแจ้งความจำนง โดยจัดส่งรายงานผลการดำเนินการรักษามาตรฐานการให้บริการของหน่วยงาน ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 ปี จนถึงปีที่สมัครขอรับรางวัล ข้อ 1/ ข้อ 2/ ข้อ 3 /ข้อ 4 ระดับดีเด่น ต่อเนื่อง 3 ปี 12

เกณฑ์การประเมินรางวัล เกณฑ์รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติประเภท 1-4 ระดับดีเด่น ระดับดี เกณฑ์รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติประเภท 1-4 ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 พิจารณาที่กระบวนการจัดการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการ ให้บริการ (600 คะแนน) 1.การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 2.การให้บริการที่มีคุณภาพ 3.การส่งเสริมการทำงานแบบหุ้นส่วน/ร่วมกัน 4.การเข้าถึงบริการ 5.การเสนอแนวคิดใหม่ ส่วนที่ 2 พิจารณาผลลัพธ์ของการ พัฒนาคุณภาพการให้บริการ (400 คะแนน) 1.มิติด้านความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ 2.มิติด้านคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการ 3.มิติด้านความคุ้มค่า 4.มิติด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนและภาพลักษณ์องค์กร

เกณฑ์การประเมินรางวัล (กรณีพิเศษ) สำหรับหน่วยงานที่พัฒนาการให้บริการได้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย จะได้รับคะแนนส่วนที่ 1 เพิ่มเติมจากคะแนนที่ได้รับอีก 50 คะแนน โดยมีลักษณะผลงานดังต่อไปนี้ 1) บูรณาการงานบริการจากหลายหน่วยงานมาให้บริการในสถานที่เดียว 2) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการให้บริการ (e-Service) 3) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพในการให้บริการ 4) การพัฒนาระบบจัดการข้อร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพและการให้บริการเชิงรุก 5) ผลการดำเนินงานของผลงานที่เสนอขอรับรางวัลสามารถสะท้อนให้เห็นถึง ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

การสมัครขอรับรางวัล ธ.ค.57–13 ก.พ.58 หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย สมัครขอรับรางวัลในนามของกรมอนามัย แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครขอรับรางวัล แบบฟอร์มที่ 2 ประเมินลักษณะของผลงานที่สมัครขอรับรางวัล เบื้องต้น แบบฟอร์มที่ 3 รายงานผลการดำเนินการ เลือกประเภทรางวัล ที่จะส่งสมัครและ กรอกข้อมูลทั่วไป ของผู้สมัคร Checklist ประเมินลักษณะผลงานตามประเภทรางวัลที่ส่งสมัคร จัดทำ Executive Summary 3 หน้า + รายงานผลงาน 10 คำถาม ความยาว ไม่เกิน 15 หน้า ธ.ค.57–13 ก.พ.58

กระบวนการตรวจประเมิน และมอบรางวัล รับสมัคร กระบวนการตรวจประเมิน และมอบรางวัล ธ.ค.57–13 ก.พ.58 ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น 16 ก.พ.–20 มี.ค. 58 ไม่รับพิจารณา คกก. กลั่นกรองผล การตรวจประเมิน 23-31 มี.ค. 58 ข้อมูลไม่ครบถ้วน แจ้งผล 24 เม.ย. 58 อ.ก.พ.ร. พิจารณาผลการกลั่นกรองรางวัล <750 คะแนน ≥ 800 คะแนน No 11 พ.ค. – 30 มิ.ย.58 ไม่ผ่านการตรวจประเมิน พิจารณาให้รับรางวัลระดับดี ตรวจประเมิน ณ พื้นที่ >750 <800 คะแนน Yes อ.ก.พ.ร. พิจารณา ก.ค.58 Yes 31 กรกฎาคม 2558 ประกาศผลการพิจารณา มอบรางวัล สิงหาคม 2558 16

ผลงานกรมอนามัยที่สมัครรับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ปี 2558 (11 เรื่อง) ประเภทที่ 3 รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ 1.หัวฉีดเป่าลมกันสนิม (ศอ.10) 2.ไม้วัดส่วนสูงมาตรฐาน สำหรับเด็ก อายุ 2-5 ปี (ศอ.10) 3.การส่งเสริมการออกกำลังกายพระภิกษุ สามเณร ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่และ การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสมสำหรับ สมณสารูป (ศอ.10) ประเภทที่ 2 รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ 1.การรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (สำนัก ส.) 2.พลังเครือข่าย MCH Board ล้านนา... สู่การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กอย่างยั่งยืน (ศอ.10) 3.การพัฒนาสุขภาพอนามัยสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม (ศอ.10) ประเภทที่ 4 รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ 1.บันไดสิบขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาในทารกที่เจ็บป่วย (ศอ.6) 2.การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่ทำงานนอกบ้านจากคลินิกสู่ ภาคีเครือข่าย (ศอ.10) 3.พัฒนาระบบการบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (ศอ.7) 4.การพัฒนาระบบบริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (ONE STOP SERVICE) (ศอ.10) 5.การดูแลการตั้งครรภ์ที่ครอบครัว/สามีมีส่วนร่วม (ศอ.10) ศอ.6 ศอ.7 สำนัก ส. ส่งหน่วยละ 1 เรื่อง ศอ.10 ส่ง 8 เรื่อง

บทเรียนจากการส่งผลงานสมัครรับรางวัล ปี 2558 ต้องทำความเข้าใจกับหัวข้อตามแบบฟอร์ม และตอบให้ตรงประเด็น ใช้ตัวเลขเชิงสถิติสนับสนุนการอธิบาย แต่อย่าใช้มากเกินไป ใช้ภาษาง่ายๆ แสดงให้เห็นว่าแนวทางการปรับปรุงที่เสนอมีผลกระทบกับกลุ่มประชาชน จำนวนมาก ไม่จำเป็นต้องเขียนให้ครบจำนวนคำตามที่กำหนดไว้ อย่าเขียนประเด็นเดิมซ้ำไปซ้ำมา แสดงตัวเลขข้อเท็จจริงจะมีน้ำหนักมากกว่าใช้ความคิดเห็นส่วนตัว ส่งผลงานให้กรมอนามัยล่วงหน้าเพื่อให้มีเวลาในการปรับปรุงเอกสาร ผลงานที่จะสมัครรับรางวัลปี 2559 ส่งกรมประมาณ กันยายน-สิงหาคม 2558 ได้หรือไม่

ประเด็นการตอบคำถาม 10 ข้อ คำอธิบาย 1. ปัญหา และสภาพการปฏิบัติงานเดิม ก่อนที่จะริเริ่มการปรับปรุง อธิบาย ความเป็นมา ปัญหา และความสำคัญที่นำมาสู่การริเริ่มกิจกรรม/โครงการ เพื่อการแก้ปัญหา เขียนประเด็นที่เป็นหัวใจสำคัญ แนวโน้ม และเงื่อนไขของสถานการณ์ รวมทั้งกลุ่มที่ได้รับผลกระทบ (ความยาวไม่เกิน 700 คำ) 2. ผู้นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาดำเนินการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ ระบุว่าใครมีส่วนร่วมในการออกแบบและ/หรือดำเนินการ ให้รวมถึงผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ทั้งข้าราชการ หน่วยงานของรัฐ สถาบัน ประชาชนองค์กรเอกชน ภาคเอกชน ฯลฯ (ความยาวไม่เกิน 700 คำ) 3. ผลงานที่เป็นความคิดริเริ่มในการพัฒนาคุณภาพการบริการ อธิบายให้เห็นถึงสิ่งที่เป็นความคิดริเริ่มในการพัฒนาบริการ และแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นรูปแบบใหม่ระบุแนวคิด/แรงบันดาลใจที่ก่อให้เกิดความคิดริเริ่มที่ทำให้การปรับปรุงบริการประสบความสำเร็จ (ความยาวไม่เกิน 1,400 คำ) 4. กลยุทธ์ที่นำมาใช้ให้การพัฒนาบริการประสบผลสำเร็จ สรุปวัตถุประสงค์หลักและกลยุทธ์ที่ใช้ว่ามีวิธีการอย่างไร และแผนปฏิบัติการในการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ใครเป็นผู้ดำเนินการ (ความยาวไม่เกิน1,400 คำ)

คำถาม คำอธิบาย 5. ทรัพยากรที่ใช้ในการ ดำเนินการ ระบุทรัพยากรทั้งด้านการเงิน เทคนิค ทรัพยากรบุคคล ผู้สนับสนุนทางการเงินของการดำเนินโครงการและ อธิบายวิธีการจัดสรรหรือกระจายทรัพยากร (ความยาวไม่เกิน 700 คำ) 6. ขั้นตอนสำคัญในการ พัฒนาการบริการและการ นำไปปฏิบัติ 6.1 ลำดับขั้นตอนในการพัฒนา อธิบายขั้นตอนและลำดับเหตุการณ์การดำเนินงานหลักในการริเริ่มพัฒนาการบริการจนถึงขั้นวางแผนการพัฒนา) 6.2 ลำดับขั้นตอนในการปฏิบัติ อธิบายขั้นตอนและลำดับเหตุการณ์การดำเนินงานหลักในการปฏิบัติตามแผนงาน โครงการ 6.3 ระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาบริการ อธิบายวิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินการตามกลยุทธ์ (ความยาวไม่เกิน 700 คำ) 7. ปัญหา อุปสรรค รวมถึง วิธีการบริหารจัดการ ระบุปัญหา อุปสรรคหลักที่พบระหว่างการดำเนินการและวิธีการจัดการกับปัญหา (ความยาวไม่เกิน 700 คำ)

คำถาม คำอธิบาย 8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินการพัฒนาบริการ อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ/ผลกระทบเชิงบวก และวิธีการวัดผลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และ ใครคือผู้ได้รับประโยชน์ (ความยาวไม่เกิน 1,400 คำ) 9. การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปยังหน่วยงานอื่น ๆ อธิบายถึงวิธีการที่ทำให้เกิดความยั่งยืนในแง่ต่าง ๆ เช่น การเงิน เศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม สถาบันและกฎระเบียบ เป็นต้น อธิบายว่าหากการพัฒนาการบริการหรือ ความคิดริเริ่มนี้ถูกจำลองแบบหรือเผยแพร่สู่การบริการสาธารณะในระดับชาติ และ/หรือ นานาชาติ จะสามารถนำไปขยายผลได้อย่างไร (ความยาวไม่เกิน 700 คำ) 10. บทเรียนที่ได้รับจากการดำเนินการพัฒนาบริการคืออะไร อธิบายถึงองค์ประกอบหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จ และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดำเนินการพัฒนาบริการ และข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินการต่อไปในอนาคต (ความยาวไม่เกิน 700 คำ)

ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม 3 รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Thailand Excellent Participatory Governance Awards)

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการบริหาราชการให้มีระบบหรือวิธีการทำงานที่ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม เกิดการทำงานร่วมกันในลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนา 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดต้นแบบที่ดี (Best Practice) ของการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการที่จะนำไปสู่การประยุกต์ใช้และขยายผลต่อไป 3. เพื่อกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมการทำงานแบบมีส่วนร่วม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐในการตอบสนองความต้องการของประชาชน 5. เพื่อสร้างแรงจูงใจและกระตุ้นให้ส่วนราชการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ 23

แนวคิดในการมอบรางวัล “ความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม” ความสามารถของหน่วยงานภาครัฐ การให้ความสำคัญของการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหาร การมีกลไก/วัฒนธรรมการทำงาน และมีหน่วยงานรองรับในการส่งเสริมการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม การสนับสนุนการทำงานของภาคประชาชน/ประชาสังคม/ภาคเอกชน การพัฒนาต่อยอด หรือการขยายผลการบริหารราชการของหน่วยงานที่มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ การให้ความสำคัญกับบทบาท/ความพึงพอใจของภาคประชาชนหรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทีเกี่ยวข้องที่เข้ามา มีส่วนร่วม การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการที่เป็นรูปธรรม การทำงานแบบมีส่วนร่วมในลักษณะหุ้นส่วนความร่วมมือ/เครือข่าย การวัดผลสำเร็จ/ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำงานร่วมกันแบบหุ้นส่วนความร่วมมือ การบูรณาการการทำงานของทุกภาคส่วน การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการติดตาม/ตรวจสอบ/ประเมินผลการทำงาน วัฒนธรรมการทำงานขององค์กรแบบมีส่วนร่วม (ลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนา) ที่เป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืน

ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน มี 5 ระดับ Inform การให้ข้อมูลข่าวสาร เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ Consult การปรึกษาหารือ เป็นการเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ (เช่น การจัดให้มรกระบวนการรับฟังความคิดเห็นทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ) Involve การเข้ามามีบทบาท เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมหรือเกี่ยวข้องในกระบวนการตัดสินใจ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล/ความคิดเห็นระหว่างรัฐกับเอกชน (เช่น การดำเนินงานในรูปแบบกรรมการที่มีตัวแทนภาคประชาชนเข้าร่วม)  Collaborate ความร่วมมือ เป็นการดำเนินการแบบเป็นหุ้นส่วนกับประชาชนในทุกขั้นตอนตั้งแต่ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินงาน ติดตามประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ รวมทั้งเป็นภาคีในการดำเนินกิจกรรม ความคิดเห็นของประชาชนจะสะท้อนออกมาในการตัดสินที่ค่อนข้างสูง (เช่น คณะกรรมการร่วมภาครัฐกับเอกชน คณะที่ปรึกษาภาคประชาชน) การเสริมอำนาจ เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีบทบาทในการเป็นผู้ตัดสินใจ มีบทบาทในการบริหารจัดการโดยเป็นผู้ดำเนินภารกิจ โดยภาครัฐมีหน้าที่ในการส่งเสริมสนับสนุน Empower

ประเภท ระดับและแนวทางการพิจารณารางวัล กรม อ. ส่งได้เฉพาะประเภทที่ 1 2 3 รางวัล พัฒนา การบริหาร ราชการแบบ มีส่วนร่วม รางวัล ขยายผล การบริหาร ราชการแบบมี ส่วนร่วม รางวัลการบริหาร ราชการแบบมีส่วนร่วม อย่างเป็นเลิศ ระดับดีเยี่ยม ระดับดี ระดับดีเยี่ยม หลักเกณฑ์/เงื่อนไข ได้รับรางวัลในระดับดีเยี่ยม มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปีติดกัน (ได้รับรางวัลขยายผลฯ ติดต่อกัน 2 ปี หรือได้รับรางวัลพัฒนาฯ ในปีที่ 1 และได้รับรางวัลขยายผลในปีที่ 2)  เสนอการดำเนินงานในโครงการใหม่ อย่างน้อย 3 โครงการ (โครงการที่สอดคล้องตามภารกิจหลักของส่วนราชการ) ระดับดี ระดับชมเชย ระดับชมเชย เงื่อนไข : โครงการใหม่ที่ไม่เคยขอรับรางวัล เงื่อนไข : โครงการที่เคยได้รับรางวัลในระดับดีหรือดีเยี่ยม โดยมีการขยายพื้นที่หรือกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า 3 พื้นที่ หรือต่อยอด โครงการที่เสนอต้องสอดคล้องกับ 1.ภารกิจหลักของส่วนราชการ หรือ 2.ภารกิจ/ประเด็นที่เป็นนโยบาย เร่งด่วนสำคัญของรัฐบาล กรม อ. ส่งได้เฉพาะประเภทที่ 1

เกณฑ์การประเมิน ระดับรางวัล 1 2 เกณฑ์ รางวัล พัฒนา การบริหาร ราชการแบบ มีส่วนร่วม ขยายผล มิติที่ 1 ความสามารถของหน่วยงาน ภาครัฐ จำนวน 4 ตัวชี้วัด 20 คะแนน 15 คะแนน มิติที่ 2 ความสำเร็จของการมีส่วนร่วมใน การบริหารราชการอย่างเป็นรูปธรรม 80 คะแนน จำนวน 6 ตัวชี้วัด 85 คะแนน ระดับดีเยี่ยม (90 คะแนนขึ้นไป) ระดับดี (80-89.99 คะแนน) ระดับชมเชย (70-79.99 คะแนน)

ตัวชี้วัดในการประเมินผลงาน มิติที่ 1 ความสามารถของหน่วยงานภาครัฐ คะแนน 1.รางวัลพัฒนาฯ 2.รางวัลขยายผล 1. การกำหนดนโยบาย/ทิศทางที่ให้ความสำคัญกับการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ 6 4 2. การสร้างระบบ/วิธีการปฏิบัติงาน เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรม และค่านิยมของหน่วยงานที่ให้ความสำคัญกับการบริหาร ราชการแบบมีส่วนร่วม 3 3. การมีกลไกหรือหน่วยงานรองรับในการส่งเสริมการบริหาร ราชการแบบมีส่วนร่วม 4. การสนับสนุนการทำงานของภาคประชาชน/ประชาสังคม/ ภาคเอกชน 5 รวม 20 15

มิติที่ 2 ความสำเร็จของการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการ อย่างเป็นรูปธรรม คะแนน 1.รางวัลพัฒนาฯ 2.รางวัลขยายผล 5.การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างความโปร่งใสใน การบริหารราชการ 5 6.แผนการส่งเสริมหรือขยายผลการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม 6.แนวทางหรือแผนการขยายผลหรือต่อยอดการบริหารราชการแบบ มีส่วนร่วม 7.การประเมินผลการดำเนินงานส่งเสริมการทำงานร่วมกับ ภาคส่วนอื่นแบบหุ้นส่วนความร่วมมือ (Collaboration) (ข้อ 8 ของรางวัลขยายผล) 55 50 7.การขยายผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ 8.ระดับความพึงพอใจของภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ (ข้อ 10 ของรางวัลขยายผล) 15 9.สรุปผลสำเร็จที่ได้รับจากการขยายผล/ต่อยอดการดำเนินโครงการ รวม 80 85

กระบวนการตรวจประเมินและมอบรางวัล ภายใน 10 เม.ย.58 รับสมัคร หน่วยงานส่งใบสมัครให้กรม 31 มี.ค.58 ตรวจประเมินใบสมัครและเอกสารประกอบ คะแนน น้อยกว่า 70 มีการประเมินความพึงพอใจโดยผู้ตรวจประเมินด้วย คะแนน 70 ขึ้นไป ไม่ผ่าน การประเมิน ตรวจประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่และพิจารณาระดับรางวัล ตรวจประเมินเพื่อ ยืนยันผล สรุปผลการตรวจเบื้องต้น > 90 คะแนน ระดับดีเยี่ยม 80-89.99 คะแนน ระดับดี 70-79.99 คะแนน ระดับชมเชย อ.ก.พ.ร. พิจารณาตัดสินรางวัล ประกาศผลการพิจารณาและมอบรางวัล

ตัวอย่าง:ส่วนราชการได้รับรางวัล กรมสุขภาพจิต ประเภทพัฒนาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2557 กรมสุขภาพจิต ระดับดีเยี่ยม กรมสุขภาพจิต ได้ให้ความสำคัญกับการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม โดยได้ใช้ TOP Model ในการบริหารโครงการ“พัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตที่ยั่งยืน” โดยให้ ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในรูปแบบของเครือข่าย ที่มาจาก หลายภาคส่วนให้ประชาชนและชุมชนพึ่งพาตนเอง สามารถร่วมกันจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพให้ลดลงได้ โดยเครือข่ายมีบทบาทในการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผล โดยกรมสุขภาพจิตทำหน้าที่เสมือนเป็นพี่เลี้ยงที่อำนวยความสะดวกและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการต้นแบบคือ “โครงการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อลดการดื่มและปัญหาจากการดื่มสุราในชุมชนของ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน”

ขอบคุณ