สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
เป็น Novel Coronavirus พบครั้งแรก เม. ย ที่ซาอุดิอา ราเบีย กระจายไป 25 ประเทศ ส่วนใหญ่ตะวันออกกลาง ณ. 1 มิ. ย. 58 พบผู้ป่วยยืนยัน 1,154 ราย เสียชีวิต.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
แนวทางการรายงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา รง.506 โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ จังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558

ทีมสอบสวนโรค แมน แสงภักดิ์ 1, ณัฐพร บุญลรรลุ 2, รณรงค์ ผิวเรืองนนท์ 1, สมพร จันทร์แก้ว 3, กัลป์พัทธ์ เตโช 3 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 2 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เมืองยโสธร 2 โรงพยาบาลยโสธร

ความเป็นมา วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา น. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองหิน ได้รับแจ้งทางโทรศัพท์จากคุณครูอนามัย โรงเรียนแห่งหนึ่ง ตำบล A อำเภอเมือง ยโสธร จังหวัดยโสธร ว่า นักเรียนกลุ่มหนึ่งมี อาการคล้ายโรคไข้หวัดใหญ่ คือ ไข้สูง ไอ มี น้ำมูก ในขณะนี้หยุดเรียนทั้งห้องและอยู่ใน ชุมชนไม่ได้ไปโรงเรียน และได้แจ้งกลุ่มงาน ควบคุมโรคติดต่อ เวลา น. ทีมเฝ้า ระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วตำบล A ได้ออก สอบสวนโรคในวันเดียวกัน

วัตถุประสงค์ ยืนยันการระบาดของโรค ศึกษา การกระจายและแหล่งโรค ปัจจัยที่ ทำให้เกิดโรคและวิธีถ่ายทอดโรค รวมทั้งมาตรการป้องกันและควบคุม โรค เป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิง พรรณนา

ผลการสอบสวน ผู้ป่วยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 โรงเรียนแห่งหนึ่ง ตำบล A อำเภอเมือง ยโสธร จังหวัดยโสธร จำนวน 21 คน เพศ ชาย 11 คน เพศหญิง 10 คน อายุ ปี

ผลการสอบสวน มีอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย ที่สำคัญ คือ ไข้สูง ไอ น้ำมูกใส มี เสมหะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว แขน ขา ร้อยละ 100 มีอาการเจ็บ คอ และหนาวสั่นร้อยละ 50 เข้ารับ การรักษาที่โรงพยาบาลยโสธร ผู้ป่วยใน จำนวน 2 ราย แพทย์ วินิจฉัยเป็น “ โรคไข้หวัดใหญ่ ” และ ผู้ป่วยนอก จำนวน 1 ราย แพทย์ วินิจฉัยเป็น “ โรคไข้หวัดใหญ่ ” ได้รับยา Oseltamivir ทุกราย

ผลการสอบสวน ผู้ป่วยรายแรกเริ่มป่วยวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นนักเรียนหญิง อายุ 11 ปี หลังจากนั้นเริ่มมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นในชั้น เรียนเดียวกันและในชุมชน 2 หมู่บ้าน ( บ้านเดียวกัน )

จำนวนผู้ป่วย / ผู้ป่วยเข้านิยามการสอบสวน โรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N122009) ตำบล A อำเภอ เมือง จังหวัดยโสธร ผู้ป่วยรายแรก รับรายงานและสอบสวนโรค

ผลการสอบสวน ค้นหาผู้ป่วยที่เข้านิยามการสอบสวน โรค พบว่า มีผู้ป่วย จำนวน 44 คน เพศชาย 27 คน เพศหญิง 17 คน อายุเฉลี่ย 16.3 ปี (46.2 ปี (Min- Max=1-75) อาชีพส่วนใหญ่ คือ ทำนา ปัจจัยเสี่ยง คือ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 เรียน รวมกันและเป็นนักเรียนมาจาก 2 หมู่บ้าน ส่งผลให้มีการแพร่กระจาย เชื้อโรคสู่ประชาชนในชุมชน

N E S W ไปหนองหงอก ม.9 ไปบ้านหนองหงอก ม. 9 ไปโนนกุง ไปบ้านหนองหิน ไปบ้านหนองคู แผนผังบ้านหนองหงอก ม บริเวณวัดเก่า ป้อมตรวจ

ไปบ้านหนองหงอก ม.6 N E S W ไปบ้านหนองบก ไปบ้านคำเกิด ไปบ้านโนนกุง / วัดร.ร.ร.ร. 158 แผนผังบ้านหนองหงอก ม.9 ศาลา กลาง บ้าน

ผลการสอบสวน ทีมสอบสวนโรคได้ทำ Throat swab ส่ง ตรวจ 6 ตัวอย่าง ส่งตรวจที่ศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี ผลการตรวจวิเคราะห์พบสารพันธุกรรม ของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ทั้งหมด

มาตรการควบคุมโรค ผู้ป่วยได้รับยา Oseltamivir จำนวน 10 ราย การค้นหาผู้ป่วยที่เข้าได้กับนิยามการ สอบสวนโรค ประชุมร่วมกับแกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และ ผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงและให้ความรู้เรื่องโรค ไข้หวัดใหญ่ ชนิด เอ (H1N1)

มาตรการควบคุมโรค ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน เพื่อลดความตระหนกและสร้างความตระหนัก สื่อสารความเสี่ยงให้ส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยที่เข้า นิยามทุกรายเข้ารับการตรวจเบื้องต้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล A และรีบส่งต่อ ผู้ป่วยทันที คือ ผู้ที่มีอาการไข้ ปวดเมื่อย กล้ามเนื้อและหอบเหนื่อย โดยเฉพาะในวัยผู้ใหญ่ เพิ่มการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงและมีโรคประจำตัว ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงมีครรภ์ ผู้สูงอายุ มากกว่า 65 ปี เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้มีภูมิ ต้านทานต่ำและผู้มีโรคอ้วน

สรุปผลการสอบสวน พบผู้ป่วย จำนวน 65 ราย ผลการ วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติพบสาร พันธุกรรมของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) เป็นการระบาดแบบแหล่งโรค แพร่กระจาย และสามารถควบคุมโรคให้ อยู่วงจำกัด ไม่เกินระยะการเฝ้าระวังโรค ข้อเสนอแนะ ควรนำเสนอข้อมูล ILI เปรียบเทียบมัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ( สอบสวนครั้งนี้ไม่ได้นำเสนอ เนื่องจากได้ลง โปรแกรมใหม่ ทำให้การวิเคราะห์ข้อมูลไม่ สมบูรณ์ )

นวัตกรรม อสม. (SRRT หมู่บ้าน )

ถุงผ้าต้านภัยไข้หวัด 2009

สวัส ดี