บัญชีข้อมูลยาและรหัสยามาตรฐานไทย Thai Medicines Terminology (TMT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
งานบุคลากร กลุ่มพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
บริการฉับไว ไร้ความแออัด โรงพยาบาลแพร่.  430 เตียง  บุคลากร 1,126 คน  ประชากรจังหวัดแพร่ ~ 477,796 คน  ประชากรอำเภอเมือง ~ 128,073 คน  จำนวนผู้ป่วยนอก.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ TMT ในการบริหารจัดการระบบยาของโรงพยาบาล
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ข้อมูล ณ 30 พฤศจิกายน 2560
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
อยู่ระหว่างดำเนินการ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การจัดทำแผนเงินบำรุง
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กรอบรายการตรวจรับ อุปกรณ์ Firewall สำหรับจังหวัด
SMS News Distribute Service
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
รายงานสถานการณ์E-claim
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บัญชีข้อมูลยาและรหัสยามาตรฐานไทย Thai Medicines Terminology (TMT) TMI Annual Conference 2014 วันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 ห้อง Grand C โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว เชียงใหม่ นพ. บุญชัย กิจสนาโยธิน Ph.D.(Health Informatics) ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส) กระทรวงสาธารณสุข

กรอบการนำเสนอ ทำไมต้องพัฒนา TMT และ TMT คืออะไร?

Download เอกสารและ slides TMT ได้ที่ www.this.or.th

ความเป็นมาหลักการและเหตุผล รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาระบบประกันสุขภาพภาครัฐให้เป็นเอกภาพ ประชาชนในทุกระบบหลักประกันสุขภาพได้รับสิทธิประโยชน์หลักเท่าเทียมกัน รัฐต้องสามารถบริหารจัดการระบบการเงินการคลังสุขภาพในระยะยาว (Long term health financing) โดยลดค่าใช้จ่ายจากการการใช้ยาอย่างไม่เหมาะสมและฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น แต่รัฐไม่มีกลไกด้านข้อมูลสารสนเทศด้านยาที่ใช้ในการกำกับ ติดตามและตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ประเทศไทยยังไม่มีระบบมาตรฐานบัญชีข้อมูลยาและเครื่องมือแพทย์รวมถึงมาตรฐานรหัสยาและเครื่องมือแพทย์ (Standard drug and medical devices information and coding system)

CSMBS 2532-2553 July 13, 2012 TiemSB @ Gmail.com

คณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัยและค่าบริการทางการแพทย์ คณะอนุกรรมการเจรจาต่อรองราคายาและเวชภัณฑ์ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติและยาชื่อสามัญ คณะอนุกรรมการกำหนดแนวเวชปฏิบัติ ข้อบ่งชี้การใช้ยา การตรวจวินิจฉัยโรค และการรักษาพยาบาล คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบตรวจสอบการรักษาพยาบาลและการเบิกจ่าย คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาและรหัสยามาตรฐานเพื่อสนับสนุนการบริหารเวชภัณฑ์ คณะอนุกรรมการปรับปรุงกลไกการจ่ายเงินโดยกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม คณะอนุกรรมการระบบข้อมูลการบริการทางการแพทย์ และผลการดำเนินงาน Clearing House

eHealth Components (WHO-ITU Model) All components are essential All components should be balanced

Governmental Digital Economy Policy Hard Infrastructure Soft Infrastructure Digital Economy Promotion Digital Society & Knowledge Service Infrastructure

Thai Health Data Standards: Current National 1. Core data set standards Minimal data sets for insurance process, Health center activities reports 2. Semantic standards ICD 10 TM, ICD 9 CM Citizen IDs, Facility IDs 3. Syntactic standards X 4. Security and privacy standards In Thailand we have developed, adopted and implemented several health data standards. Most of these standards serve administrative purpose. We have a minimal data set of insurance and minimal data set for health center activities report. We have adopted ICD-10 since its inception a decade ago and main use of ICD in Thailand is for public health reports and reimbursement. We are lucky that the countries had implemented citizen IDs systems for almost 2 decades. Citizen ID is used for identifying individual patient in Thai healthcare system.

Thai Health Data Standards: Developing National 1. Core data set standards Referral, Chronic Diseases 2. Semantic standards Drug Terminology (TMT), SNOMED-CT Lab. Code (LOINC) Providers IDs 3. Syntactic standards HL7 messaging, CDA 4. Security and privacy standards X We are expanding to employ more health data standards to serve clinical and continuity of care. We are now developing Thai Medicines Terminology using SNOMED-CT data model. We want to uniquely identify drugs that use in clinical care and also to use for reimbursement. We consider to adopt several international standards for clinical care in Thai health care system for example LOINC, SNOMED_CT, HL7-CDA.

บัญชียาและรหัสยามาตรฐาน (Medicines Terminology) ประกอบด้วย คำจำกัดความ(Term/Name)มาตรฐานของยาแต่ละตัว + ข้อมูลที่เกี่ยวกับสารเคมีของตัวยา ชื่อสามัญ(Generic), ชื่อการค้า(Trade name), dose form, strength, unit of used, therapeutic group, pack size, รหัสที่ชี้เฉพาะ(Uniquely identify) ไปที่คำจำกัดความมาตรฐานของยาแต่ละตัว แต่ละมุมมอง(Concepts) ความสัมพันธ์(relationships) ระหว่าง Terms/Names ที่สามารถบ่งชี้ ถึง Synonym, ingredients, packaging

การพัฒนา ระบบข้อมูลยารหัสมาตรฐาน หลักการแนวคิด การพัฒนา ระบบข้อมูลยารหัสมาตรฐาน ใช้งานได้หลาย Functions Pharmacy/Claim Reimbursement Pharmacy Management, Monitor & Evaluation Electronic Medical Records (EMR)  Patient safety : Drug Prescribing, Dispensing, Administration Health Information Exchange : Drug records sharing สอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย พัฒนาต่อยอดได้ เชื่อมโยงกับระบบสากลได้ SNOMED-CT (Systematic Nomenclature of Medicine Clinical Terms)

ขอบเขตของ TMT (1)

ขอบเขตของ TMT (2) TMT standardize Drug Name : WHO INN (International Nonproprietary Name) Dosage form : EDQM (European Directorate for the Quality of Medicine & Health Care) Strength Unit of measure Manufacturer

ขอบเขตของ TMT (3) ข้อมูลด้านยาที่ TMT ไม่ครอบคลุม ข้อมูลผลอันไม่พึงประสงค์ของยา (Adverse effects) ข้อพึงระวังและคำแนะนำการใช้ยา (Cautionary and advisory label recommendations) ข้อบ่งชี้การใช้ยา (Indication) ข้อห้ามการใช้ยา (Contraindication) อันตรกิริยาของยา (Drug interaction) พิสัยขนาดการใช้ยา (Normal dose ranges) การเก็บและข้อมูลที่เกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทาน (Storage and supply chain related information)

ประโยชน์จากการมีบัญชียาและรหัสยามาตรฐาน ใช้ในระบบข้อมูลการบริหารจัดการ (administration) ด้านยา ควบคุมการใช้ยาให้เหมาะสมได้ทั้งในระดับประเทศ และระดับองค์กร (กองทุนประกันสุขภาพ, โรงพยาบาล) เช่นการติดตามกำกับดูแลค่าใช้จ่ายด้านยา บริหารจัดการสินค้าคงคลัง(inventory) เป็นต้น

ประโยชน์จากการมีบัญชียาและรหัสยามาตรฐาน(2) ใช้ในระบบข้อมูลการให้บริการของผู้ให้บริการ (Health Care Services) เช่นการสั่งยา (drug prescription) การจ่ายยา(drug dispensing) การบริหารยาให้กับผู้ป่วย (drug administration) ทำให้ระบบการบริการสุขภาพมีความปลอดภัยมากขึ้น

ประโยชน์จากการมีบัญชียาและรหัสยามาตรฐาน (3) สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการตัดสินใจทั้งด้านบริหารจัดการ (Executive and Management Decision support) และระบบการตัดสินใจทางคลินิก (Clinical decision support)

TMT an Example

ระบบข้อมูลบริการใน รพ. ที่สามารถใช้ประโยชน์จาก TMT Safety Drug interaction ระบบข้อมูลบริการใน รพ. ที่สามารถใช้ประโยชน์จาก TMT SUBS Substance Safety Drug interaction VTM Virtual Therapeutic Moiety ADR Bio Equivalent Quality Public Inform Pharm Class (ATC) ED , NED GP Generic Product TP Trade Product Cost Control Reimbursed Price GPU Generic Product Use TPU Trade Product Use Prescription Dispensing Price GPP Generic Product Pack TPP Trade Product Pack Inventory Logistic (GS1)

ตัวอย่าง TMT ในระดับ TPU TMTID(TPU) FSN (Fully Specify Name) MANUFACTURER 103990 AUTIDINE-40 (famotidine 40 mg) film-coated tablet, 1 tablet AUROBINDO PHARMA, INDIA 255192 AUTO (domperidone 10 mg) tablet, 1 tablet พาตาร์แลบ 614701 AUTO (domperidone 5 mg/5 mL) oral suspension, 30 mL bottle 545895 AUXIME (cefotaxime 1 g) powder for solution for injection, 1 g vial 255214 AVACAN 1000 (amoxicillin 875 mg + clavulanic acid 125 mg) film-coated tablet, 1 tablet KHANDELWAL LABORATORIES, INDIA

จำนวนรายการยาใน TMT RF20140421 62,646 items SUBS 1,641 items จำนวนรายการยาใน TMT RF20140421 62,646 items VTM 1,932 items Dosage Form GP 5,658 items TP 22,811 items Manufacturer Strength GPU 6,770 items TPU 23,834 items Unit of Uses GPP x,xxx items TPP xx,xxx items Pack content

ความครอบคลุมของ TMT รายการยาจากทะเบียนยาของ อ.ย. , บริษัทยา และ รพ.แจ้ง มีการ update รายการยาในฐานที่ขึ้นทะเบียน อ.ย.ทุกเดือน ตั้งแต่ พ.ย. 56 มีทะเบียนยาเปลี่ยนแปลง 100-200 รายการต่อเดือน รายการยาของรพ. มหาวิทยาลัย กับ TMT รพ. รายการยาจากบริษัท มี TMTID (TPU) % ศิริราช 2173 1857 86 รามาธิบดี 2230 1915

กระบวนการบำรุงรักษา TMT (1) รายการยาในระบบบริการสุขภาพไทย อ.ย.& หน่วยราชการอื่น บริษัทยา รพ. ตรวจสอบ ความถูกต้อง Clean & Standardize data สร้างความสัมพันธ์ของ Attribute ตาม TMT Model ตรวจสอบความถูกต้องโดยผู้เชี่ยวชาญ ประกาศ Update เดือนละ 2 ครั้ง TMTRFyyyymmdd

กระบวนการบำรุงรักษา TMT (2) Update ทุกวันจันทร์ สัปดาห์ที่ 1 และ 3 ของเดือน ตั้งแต่ 1 ก.ค. 56 ถึง 3 พ.ย. 57 = 33 ครั้ง

TMT Release Files (TMTRF20140602.ZIP)

เครื่องมือช่วยรพ. หา TMTID จากรายการยาของรพ. ใช้ Excel มี Guideline ใน TMT Release.zip คำแนะนาการใช้งาน TMTRFYYYYMMDD_SNAPSHOT.xls

กลไกการให้บริการข้อมูลและตอบปัญหา TMT Webpage www.this.or.th Email: tmt@this.or.th Telephone : 02 832 9020 Facebook: https://www.facebook.com/thishsri

กลไกการให้บริการข้อมูลและตอบปัญหา TMT (2) คำถาม & ขอ TMTID มี.ค. 56 – เม.ย. 57 ผ่านทาง email 44% (67 ครั้ง) Tel 56% (88 ครั้ง) รายการยาที่ขอรหัส TMTID 1,138 รายการ ประเภท จำนวน Percentage โรงพยาบาล 400 80 บริษัทยา 100 20 ประเภท จำนวน Percentage โรงพยาบาล 456 40.07% บริษัทยา 659 57.91% Unidentified 23 2.02%

การนำTMT ของยา 9 กลุ่ม ไปใช้ในการเบิกจ่ายยา ผป

การนำบัญชียาและรหัสยามาตรฐาน TMT ไปใช้ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) คณะ ประกาศ TMT ให้เป็นมาตรฐานรหัสยาสำหรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์การบริการทางการแพทย์ของไทย (Healthcare services eTransaction)

การนำบัญชียาและรหัสยามาตรฐานไปใช้ (2) 30 ตุลาคม 2556 คณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์ การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัยและค่าบริการทางการแพทย์ มีมติ ให้กระทรวงสาธารณสุขนำ TMT ไปดำเนินการประกาศให้เป็นมาตรฐานบัญชีรายการยาและรหัสยาของประเทศ เพื่อเชื่อมโยงรหัสยาของโรงพยาบาลต่างๆ การเบิกจ่ายในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ในระยะต่อไปให้นำTMTผนวกเข้าไว้ในโปรแกรมของโรงพยาบาล เพื่อใช้สำหรับการสั่งซื้อและการเบิกจ่ายทั้ง 3 กองทุน ในระยะยาวให้ใช้สำหรับจัดซื้อยาตามระเบียบพัสดุ รวมทั้งจะขยายต่อยอดกับระบบยาอื่นๆ เช่นการขึ้นทะเบียนตำรับยา การกระจายยา

ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) Thai Health Information Standard Development Center (THIS)

ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย Thai Health Information Standards Development Center www.this.or.th http://www.facebook.com/thishsri this@this.or.th

สวรส HSRI’s Affiliated Agencies สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) สำนักพัฒนาระบบตรวจสอบการรักษาพยาบาล (สพตร.) ศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (ศรท.) ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย(ศมสท.) สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.)

ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) Thai Health Information Standards Development Center (THIS) พันธกิจ พัฒนาและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพในประเทศที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพื่อให้ระบบข้อมูลสุขภาพต่างระบบสามารถทำงานร่วมกันได้ เป็นผลให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพและประสิทธิภาพ To develop and facilitate the development of Thailand health information system standards which is compatible with international standards, in order to achieve health information systems interoperability with the ultimate goal of better health system

Keywords HIS standards Interoperability Compatible with international standards, Effective health system มาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ ระบบข้อมูลสามารถทำงานร่วมกันได้ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ระบบสุขภาพมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

Q & A

ทำไมควรใช้รหัสยา TMT และไม่ควรใช้รหัสยา 24 หลัก  คุณสมบัติที่ควรมี รหัสยา TMT รหัสยา 24 หลัก ข้อมูลขนาดการใช้ (Unit of Use) และขนาดบรรจุ(Pack size) √ × การเบิกจ่ายยาเป็นรายรายการในระดับ Trade product Uniquely identify ยา ทั้งในระดับ generic และ trade product จำนวนหลักของรหัสยา 6-18 24 ระบบตรวจสอบการลงรหัสผิด(check digit system) เชื่อมโยงระบบข้อมูลการสั่งยา(drug prescribing)ของแพทย์ กับระบบข้อมูลการจ่ายยา(drug dispensing) ของเภสัชกร และระบบข้อมูลการบริหารยาของพยาบาลได้ (drug administrating) สอดคล้องกับมาตรฐานสากล √ (SNOMED-CT)