Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต และ คณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
PHPPHP การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ.
CPE Project 1 บทที่ 3.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
Server Object. 2 z ใช้ในการควบคุม และบริหารเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งทำด้วยการเขียนสคริปต์ใน แอปพลิเคชั่น ASP ( โดยเรียกใช้เมธอด หรือกำหนดค่าพรอพเพอร์ตี้ของ.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์ 28 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณยเอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต, นายนิพนธ์ พิมพ์พืช และนายสัณห์ อุทยารัตน์ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization Layer 1 Baseband Processor Implementation for 3GPP Systems SCORPion Research Group.
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิตร, นาย สัณห์ อุทยารัตน์ และนาย นิพนธ์ พิมพ์พืช กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 1 กับ Group 2
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป FPGA SCORPion Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิตร กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion Research.
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
We Bring Networking to Your Life ™ S uperior CO mmunications R esearch and P rototyp i ng for c o mmercializatio n การประชุม SCORPion Research Group แนวทางในการทดสอบความถูกต้อง.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณย เอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นาย ศิริชัย แซ่หว่อง นาย เอกพล หิรัณย เอกภาพ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 2 กับ Group 3 ในสถานีเคลื่อนที่ (Mobile Station) 2 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายสัณห์ อุทยารัตน์ ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอล เบสแบนด์ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
SR Latch SR Latch ต้องรอ negative edge เพื่อให้ Q = D Y = D Q = Y.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ไมโครคอนโทรลเลอร์ บทที่ 11.
โครงสร้างภาษา C Arduino
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Seminar 1-3.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ภาพที่1 : ตัวอย่างข้อความชื่อภาพ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
เครื่องตรวจคุณภาพของแตงโม
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
การพัฒนาระบบการให้บริการอินเทอร์เน็ตอัตโนมัติ โดยใช้รายการควบคุม
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต และ คณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research Project Meeting April 30, 2004 NECTEC การเชื่อมต่อระหว่างบอร์ดเพื่อไว้ในการ ทดสอบการประมวลผลสัญญาณวน กลับ

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization หัวข้อนำเสนอ  โครงสร้างของการประมวลผลแบบวนกลับ  แนวทางการเชื่อมต่อ  แนวทางการทดสอบ  สรุป  แผนงานในอนาคต

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization โครงสร้างการประมวลผลแบบวนกลับ

แนวทางการเชื่อมต่อ  ในการเชื่อมต่อระหว่างบอร์ด FPGA และ DSP  จะใช้ McBSP เนื่องจากช่องสัญญาณนี้รอบรับข้อมูล ได้ถึง 150 Mbps แต่ในการส่งข้อมูลระหว่างบอร์ดใช้ สูงสุดเพียง 960 Kbps เท่านั้น  FPGA ก็สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมได้ง่าย  มีสัญญาณ 3 สัญญาณในการเชื่อมต่อ คือ Clock, Frame Synchronization และ Serial Data  มีการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ Transmitter และ Receiver ตามรูปที่แสดงไว้แล้ว

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization การเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์เพื่อใช้ในการ ทดสอบ ฮาร์ดแวร์บอร์ดส่วนสถานีฐาน ( ซ้าย ) และส่วน สถานีเคลื่อนที่ ( ขวา )

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แนวทางการทดสอบ  จำลองการส่งสัญญาณจาก DSP ไปหา FPGA และส่งย้อนกลับมาให้ DSP โดยจะมีการทำงาน ดังนี้  เริ่มส่งสัญญาณ (Clock, Frame Sync. และ Data) จาก DSP ไปให้ FPGA  เมื่อ FPGA ได้รับข้อมูลครบแล้ว ก็จะทำการส่งข้อมูล กลับมาให้ DSP  ทำการตรวจสอบข้อมูลที่ส่งกับที่ได้รับว่าเหมือนกัน หรือไม่  ในการทดสอบนี้จะไม่มีการประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ เพื่อทำการทดสอบความถูกต้องใน การส่งสัญญาณระหว่างบอร์ด

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แนวทางการทดสอบ [2]  ในการส่งสัญญาณระหว่างบอร์ดจะมี Timing ในการส่ง เป็นไปตามมาตรฐานของ McBSP  โดยทางผู้วิจัยได้ใช้ Logic Analyzer จับสัญญาณการ รับส่งข้อมูล ซึ่งจะเป็นไปดังนี้

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization สรุป  ในการทดสอบการส่งสัญญาณระหว่างบอร์ด ข้อมูลที่ได้รับกับที่ส่งออกไปเหมือนกัน ดังนั้นการ ส่งสัญญาณนี้จึงมีความถูกต้อง  ในขณะนี้ทำรวมการทดสอบการประมวลผล สัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ทั้งสถานีเคลื่อนที่ และสถานีฐาน เข้ากับการส่งสัญญาณระหว่างทั้ง 2 บอร์ด โดยจะใช้พารามิเตอร์แบบตายตัว (Fixed Parameter)  มีการประมวลผลดิจิตอลเบสแบนด์ก่อนที่จะส่งข้อมูล ระหว่างบอร์ด  ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลในการประมวลผลสัญญาณ (30%)

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แผนงานในอนาคต  ทำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งถือ ว่าเป็นการทดสอบการประมวลผลดิจิตอล เบสแบนด์แบบวนกลับ  ทำการทดสอบการประมวลผลแบบวนกลับ โดย ใช้พารามิเตอร์แบบยืดหยุ่น (Flexible Parameter)