มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา บทที่ 6 การบริหารเงินทุน ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ทุนและประเภทของทุน เงินทุนคงที่ (Fixed capital) เงินทุนหมุนเวียน(Working capital) ค่าเช่า ค่าซื้อสินค้า ค่าวัตถุดิบ ค่าจ้างแรงงาน ค่าภาษี ค่าขนส่ง ค่าส่งเสริมการขาย ค่าประกันภัย ทุนสำหรับซื้อที่ดิน ซื้ออาคาร ก่อสร้างโรงงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน จะเกี่ยวข้องกับ 3 กิจกรรม คือ การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การบริหารวงจรเงินสด การจัดทำงบประมาณเงินสด การบริหารเงินทุนหมุนเวียนจะมีความแตกต่างกันดังนี้ ความต้องการเงินทุนเมื่อเริ่มก่อตั้งธุรกิจ ความต้องการเงินทุนในการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงธุรกิจ
การใช้ไปของเงินทุน การใช้เงินทุนของธุรกิจขนาดย่อมควรใช้หนี้สินระยะสั้นในการซื้อสินทรัพย์หมุนเวียน เพราะสินทรัพย์หมุนเวียนมักจะเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้เร็วหรือมีสภาพคล่องสูง และไม่ควรใช้หนี้สินระยะสั้นในการซื้อสินทรัพย์ถาวรเพราะหนี้สินระยะสั้นมีกำหนดชำระเร็ว
ประกอบด้วยหนี้สินและส่วนของเจ้าของ การจัดหาเงินทุน ประกอบด้วยหนี้สินและส่วนของเจ้าของ การจัดหาเงินทุนโดยการกู้ยืม การกู้ยืมเงินโดยผ่านระบบสถาบันการเงิน : ธุรกิจภายในประเทศ : ธุรกิจระหว่างประเทศ การกู้ยืมเงินโดยผ่านแหล่งกู้ยืมอื่น การจัดหาเงินทุนจากส่วนของเจ้าของ
ประเภทของธุรกิจ (Type of Business) 1. ธุรกิจผลิตสินค้า (Manufacturing Business) 2. ธุรกิจซื้อขายสินค้า (Merchandising Business) 3. ธุรกิจให้บริการ (Service Business) รูปแบบของธุรกิจ ร้านค้าเจ้าของคนเดียว (Proprietorship) 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล - ห้างหุ้นส่วนจำกัด 3. บริษัทจำกัด (Company Limited)
รูปแบบของธุรกิจ เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด ใครเป็นเจ้าของกิจการ ? เจ้าของ หุ้นส่วน ผู้ถือหุ้น ความรับผิดชอบต่อหนี้สิน ? ไม่จำกัด ไม่จำกัด จำกัด ภาษีของเจ้าของและกิจการ ? ไม่ ไม่ แยกกัน
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ Minimum Overdraft Rate (MOR) คือ อัตราดอกเบี้ยเงินเบิกเกินบัญชี Minimum Lending Rate (MLR) คือ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาว ที่มีกำหนดเวลา Minimum Retail Rate (MRR) คือ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับลูกหนี้รายย่อย
ขั้นตอนการขอกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน พิจารณาความพร้อมของตนเอง เตรียมหลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำประกัน เช่น ที่ดิน อาคาร เลือกใช้บริการจากสถาบันทางการเงินที่มีความมั่นคง
การบริหารทุนหมุนเวียน ทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net Working Capital) หมายถึง ผลต่างระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนทั้งหมดกับหนี้สินหมุนเวียนทั้งหมด หรือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนที่ปลอดจากภาระหนี้สิน
ประเภทของทุนหมุนเวียน ทุนหมุนเวียนถาวร (Permanent Working Capital) เงินทุนหมุนเวียนชั่วคราว (Temporary Working Capital)
แนวคิดในการจัดหาสินทรัพย์หมุนเวียนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ แนวคิดของผู้บริหารที่มีลักษณะการบริหารแบบกล้าเสี่ยง (Aggressive Approach) แนวคิดของผู้บริหารที่มีลักษณะการบริหารแบบระมัดระวัง (Conservative Approach) แนวคิดของผู้บริหารที่มีลักษณะการบริหารแบบสายกลาง (Average Approach)
กิจกรรมการบริหารเงินทุนหมุนเวียน การพยากรณ์ความต้องการเงินทุน ปริมาณการขายเพิ่มขึ้น หรือมีการขยายตลาด อุปสงค์ของลูกค้าเพิ่มขึ้นตามฤดูกาล หรือตามวงจรขาขึ้น เทคโนโลยีการผลิตมีความก้าวหน้า การจัดหาทุนหมุนเวียน
ปัจจัยที่ผลต่อความต้องการทุนหมุนเวียน ขนาดของธุรกิจ ปริมาณการขาย ความสะดวกในการกู้ยืม ความมุ่งหวังในกำไรสูงสุด ความกล้าเสี่ยงที่จะชำระหนี้ไม่ทันเวลา ประเภทของธุรกิจ
การบริหารวงจรเงินสด การบริหารเงินสดให้เพียงพอและทันต่อการใช้งานจึงมีผลโดยตรงต่อสภาพคล่องของธุรกิจซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เช่น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงคลัง รวมทั้งหนี้สินหมุนเวียน เช่น เจ้าหนี้การค้า
การบริหารวงจรเงินสดให้เกิดประสิทธิภาพ (Minimum Operating Cash) นิยมใช้ 3 วิธีด้วยกัน คือ ชะลอการจ่ายกระแสเงินสดโดยต่อรองของยืดเวลาการชำระหนี้ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและขายสินค้า เร่งกระแสเงินสดรับโดยพยายามเก็บเงินจากลูกหนี้ให้เร็วขึ้น
จบบทที่ 6 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...