ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
การเขียนผังงานเบื้องต้น (Flow chart)
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
เกม คณิตคิดเร็ว.
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
BC320 Introduction to Computer Programming
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Basic Input Output System
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
การขอโครงการวิจัย.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม โดย พนิดา ทรงรัมย์

ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับการประมวลผล ประโยชน์ ยุคแรก 1940 สร้างคอมพิวเตอร์มาเพื่อใช้ในทางคณิตศาสตร์ เพราะ คำนวณได้เร็วกว่ามนุษย์ แตกต่างจากเครื่องคิดเลขคือ สามารถเขียนโปรแกรมให้ทำงานตามวัตถุประสงค์ สม่ำเสมอในการทำงานมากกว่ามนุษย์ ยุค 1980 เป็นต้นมา การเก็บข้อมูล การสื่อสาร

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ input output process ตัวอย่าง เราป้อนจำนวนชั่วโมงทำงานของพนักงานเพื่อให้โปรแกรมคำนวณรายได้ของพนักงาน แล้วพิมพ์เอกสารออกมา Input : จำนวนชั่วโมงทำงานของพนักงาน Process: คำนวณรายได้ของพนักงาน Output: พิมพ์เอกสารออกมา

โปรแกรมและภาษา โปรแกรมเป็นไฟล์ที่เป็นภาษาเครื่อง( machine language) เพื่อไว้สั่งให้เครื่องทำงานตาม การสร้างโปรแกรมต้องใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ระดับดังนี้ 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่สามารถสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ได้ทันที โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง 0 และ 1 2. ภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) เป็นภาษาที่ใช้ตัวอักษรแทนตัวเลขฐานสอง เช่น ADD A,B เป็นต้น ตัวอย่าง ภาษาระดับต่ำ เช่นภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 3. ภาษาระดับสูง (High-level Language) เป็นภาษาที่คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษ ทำให้สามารถเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เช่นPascal, C เป็นต้น

ตัวแปลโปรแกรม (compiler) Source Code ภาษาเครื่อง compiler

ชุดคำสั่ง โปรแกรม และตัวแปร ชุดของคำสั่ง(instruction set) คือ กลุ่มของคำสั่งที่ภาษานั้นรู้จัก โปรแกรม คือ ลำดับของคำสั่งที่อยู่ในชุดของคำสั่ง ตัวแปร เป็นองค์ประกอบในการเขียนโปรแกรม สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการอ้างถึงตำแหน่งของข้อมูลบนหน่วยความจำหลัก ตัวแปรจะมีค่าได้เพียงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่ง

ผังงานโปรแกรม (flowchart) นักภาษาคอมพิวเตอร์ได้ออกแบบรูปแบบคำสั่ง เพื่อให้นักเขียนโปรแกรม สามารถนำไปใช้ 3 กรณี ลำดับการทำงาน การตัดสินใจ การวนซ้ำ ผังงานโปรแกรมจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปแกรมที่สามารถแสดงให้เห็นถึง 3 ข้อดังกล่าว

ผังงานโปรแกรม (flowchart)

ผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง หาพื้นที่สี่เหลี่ยมพื้นผ้า Width, Length width Area  Width * Length; length Area stop

ผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง บริษัทก่อสร้างแห่งหนึ่งมีขนาดที่ดินในรูปของ ไร่ งาน ตารางวา ต้องการแปลงให้เป็นตารางวา ** 1 ไร่ มี 4 งาน 1 งาน มี 100 ตารางวา Rai, Ngan, Wa NganWa  Ngan * 100; RaiWa  Rai * 400; WaSqr  RaiWa + NganWa + Wa; WaSqr stop

ผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.1 เขียน flowchart ใหม่ โดยให้ใช้ตัวแปรน้อยที่สุด Rai, Ngan, Wa NganWa  Rai*400+Ngan*100+Wa; WaSqr stop

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง ร้านอาหารแห่งหนึ่งมอบส่วนลด 10% ทันทีที่ลูกค้ามี ยอดทานอาหาร(Amt) เกิน 1,000 บาท ต้องการคำนวณหา เงินที่ลูกค้าจะต้องจ่าย Amt Amt > 1000 N Y Amt  Amt * 0.9; ’Amt is’, Amt stop ** การแสดงคำที่ต้องการแสดงให้ครอบด้วย เครื่อง single quote (’)

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด1.2 เขียน flowchart ให้รับค่าจากคีย์บอร์ดเป็นราคาสินค้า ที่ต้องชำระ(Cost) โดยในกรณีที่ราคามากกว่า5,000 บาท ให้ลดราคา 10% มิฉะนั้นให้ลด 5% โดยแสดงราคาที่ต้องชำระ Cost Cost > 5000 N Y Cost  Cost * 0.95; Cost  Cost * 0.9; ’Cost is’, Cost stop

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) 1+2+3+4+5 = 15 start กำหนดค่าเริ่มต้น Cnt = 0, Sum =0; Cnt  0; Cnt Sum 1 Sum=0+1 = Sum+Cnt; 2 3 Sum=1+2 =Sum+Cnt; 6 Sum=3+3 = Sum+Cnt; 4 10 Sum=6+4=Sum+Cnt; 5 15 Sum=10+5=Sum+Cnt; Sum  0; Cnt = 6 Y N Sum Sum  Sum + Cnt; stop Cnt  Cnt + 1;

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง เขียน flowchart เพื่อหายอดการจำหน่ายรวม ของธุรกิจหนึ่ง ซึ่งได้รับยอดการจำหน่าย(Sales) จากสาขาทั้ง 5 สาขาในแต่ละวัน Cnt  0; Sum  0; Cnt = 5 Y N Sum Sales stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.4 เขียน flowchart โดยให้รับค่าจากคีย์บอร์ด 5 ค่า ทีละค่า โดยหลังจากรับค่าแต่ละค่าแล้ว ให้เพิ่มค่านั้นไป 10 หน่วย และ จากนั้นจึงพิมพ์ค่าใหม่นั้นออกหน้าจอ โดยใช้การวนซ้ำ (ใช้ตัวแปร X ตัวเดียว) Cnt  0; Y Cnt = 5 N X stop X  X + 10; X Cnt  Cnt + 1;

เฉลยแบบฝึกหัด

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด1.3 Cost Cost > 10000 Y Cost  Cost * 0.85; N Y Cost > 5000 Cost  Cost * 0.9; N ’Cost is’, Cost stop

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.6 Sum  0; Cnt  0; วนซ้ำแบบไม่มีที่สิ้นสุด Sales Y Cnt = 5 N Sum N stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start Sum  0; Cnt  0; แบบฝึกหัด 1.6 รับค่า sales แค่ครั้งเดียว Sales Y Cnt = 5 N Sum N stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.6 Sum  0; Cnt  0; วนซ้ำแบบไม่มีที่สิ้นสุด Sales Y Cnt = 5 N Sum N stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start A, B แบบฝึกหัด 1.7 Cnt  0; Pow  1; Y Cnt = B N Power N stop Pow  Pow * A; Cnt  Cnt + 1;