NKM 4 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ
กระบวนการจัดการความรู้ CrossFunctionalTeam CFT. แผนก/กอง/ฝ่าย คณะทำงานจัดการความรู้ จัดเวที ลปรร. “ตลาดนัดความรู้” ร่วมกันออกแบบแนว ทางการดำเนินการ Continuous Improvement การทำงานประจำ การแก้ปัญหา สรุปความรู้จากการเข้าสัมนา/อบรม ดูแลระบบสารสนเทศ และคลังความรู้ WI,WP สิ่งประดิษฐ์ ลปรร.เรื่องที่เป็น Best Practiceของหน่วยงาน จัดอบรม สื่อสารทำความเข้าใจเกี่ยวกับ การจัดการความรู้ QCC อื่น ๆ ลปรร.เหตุการณ์ที่น่าสนใจในรอบเดือน ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ริเริ่มจัดกิจกรรมเพื่อ กระตุ้นและสร้างบรรยากาศการ ลปรร. ลปรร.ความรู้จากการทำงาน จัดตลาดนัดความรู้เฉพาะเรื่อง นำความรู้ไปใช้งาน คลังความรู้
แผน KM โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ปี 2550
Stakeholder (รัฐบาล กฟผ. ชุมชน) ผลิตไฟฟ้าอย่างมีคุณภาพ มั่นคง ต้นทุนต่ำ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นมิตรกับชุมชน และพนักงานมีความสุขในการทำงาน Financial Stakeholder (รัฐบาล กฟผ. ชุมชน) F1. สร้างมูลค่าเพิ่มจาก การผลิตไฟฟ้า/ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง S1.ไฟฟ้ามีคุณภาพ S2. มีความพร้อมจ่ายสูง F2. ควบคุมต้นทุน ต่อหน่วยผลิต F3. เพิ่มรายได้ จากการผลิตไฟฟ้า S3. มีการประหยัด พลังงาน S4. ดูแลสิ่งแวดล้อม ให้ดีกว่าที่ กฎหมายกำหนด S5. ชุมชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี Internal Process P1. ผลิตไฟฟ้า ตาม PPA P4. ปรับปรุงงาน Planned Outage P7. ลดการใช้ไฟฟ้า/ น้ำมัน P9. สนับสนุนโครงการ ด้านคุณภาพชีวิตชุมชน ของหก-พช. P2. ควบคุม gross heat rate P3. แสวงหาวิธีแก้ไข ปัญหาคุณภาพลิกไนต์ ในอนาคต P5. แสวงหาการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้า 4-7 P6. ลดมูลค่าพัสดุ สำรองคลัง P8. เพิ่มรายได้ จากวัตถุพลอยได้ P10. พัฒนาการใช้งานระบบTQM และ IMS P11. พัฒนากิจกรรม QC วิจัยและพัฒนา และ 5 ส. P12. มุ่งเน้นการนำระบบควบคุมภายในมาใช้ทั่วทั้งองค์กร Learning & Growth L1. เสริมสร้าง ความพึงพอใจ ของพนักงาน L2. มุ่งเน้น การสร้างวัฒนธรรม องค์กร L3. เสริมสร้าง ระบบ บริหารบุคคล L4. มุ่งเน้น การจัดการความรู้ L5. พัฒนาระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ
แผน KM ปี 2551