โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนธันวาคม ประชุมหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ / กำนัน - ผู้ใหญ่บ้าน วันที่ 2 ธันวาคม 2557 ณ ที่ว่าการอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
 อำเภอ  จังหวัด  เขต / สลคช.  กรม / หน่วยงานภาคี  วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย  สถาบันการศึกษา  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บุคคลทั่วไป.
สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ที่ 2 ร้อยละของจำนวนเกษตรกรเป้าหมาย ผ่านการเตรียมความพร้อม ( ถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการ โรงเรียนเกษตรกร ประจำปี 2551) จังหวัดระนอง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
ติดตามงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ปีงบประมาณ พ. ศ กลุ่มงาน / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดราชบุรี
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 9 กรกฎาคม 2555.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการทำงานตามระบบการส่งเสริมมิติใหม่ (MRCF)
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ข่าวส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
ประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอ (DM) ประจำเดือนเมษายน 2562
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔ โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้ได้รับความรู้การผลิตสินค้าเกษตร ตามระบบการจัดการคุณภาพเพื่อการรับรองมาตรฐานแหล่งผลิต GAP และเกษตรอินทรีย์

เป้าหมาย จำนวน ๘๕,๙๓๐ ราย ๗๖ จังหวัด เพื่อพัฒนาเกษตรกรจำนวน ๘๘,๘๕๐ ราย แยกเป็น ๑. เกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (สพส.) จำนวน ๘๕,๙๓๐ ราย ๗๖ จังหวัด ๒. เกษตรกรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เชิงพาณิชย์ สู่สากล (สพส.) จำนวน ๔๒๐ ราย ๙ จังหวัด ๓. เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ (สสจ.) จำนวน ๒,๕๐๐ ราย ๑๓ จังหวัด

กิจกรรมภายใต้โครงการ กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (สพส.) กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์ เชิงพาณิชย์สู่สากล (สพส.) กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ (สสจ.)

วิธีการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม

๑. กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP ประกอบด้วย ๑.๑ อบรมเพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษาเกษตรกร ระดับอำเภอ จำนวน ๑,๕๐๐ ราย เวลา ๓ วัน (สสข.) ๑.๒ อบรมเกษตรกร จำนวน ๘๕,๗๓๐ ราย เวลา ๒ วัน (จังหวัด/ อำเภอ) ๑.๓ ติดตามให้คำปรึกษาและประเมินแปลงเบื้องต้น จำนวน ๓๕,๙๓๐ แปลง (อำเภอ)

แบบกลุ่ม จำนวน ๖ กลุ่ม ๒๐๐ ราย เวลา ๓ วัน (จังหวัด/ อำเภอ) ๑.๔ อบรมเกษตรกรฝึกปฏิบัติเพื่อเข้าสู่การรับรองมาตรฐาน GAP แบบกลุ่ม จำนวน ๖ กลุ่ม ๒๐๐ ราย เวลา ๓ วัน (จังหวัด/ อำเภอ) ๑.๕ จัดทำคู่มือที่ปรึกษาเกษตรกร จำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม (สพส.) ๑.๖ จัดประชุมเจ้าหน้าที่ระดับเขต จำนวน ๒๗๐ คน ๑.๖.๑ สสข.๑,๒ และ ๓ เขตละ ๓๐ คน ๑.๖.๒ สสข.๔,๕ และ ๖ เขตละ ๖๐ คน

๒. กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เชิงพาณิชย์สู่สากล ประกอบด้วย ๒.๑ อบรมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร จำนวน ๕๐ ราย (สพส.) ๒.๒ ประชุมจัดตั้งกลุ่มการผลิตข้าว ผักและชาอินทรีย์ จำนวน ๒๑ กลุ่ม (จังหวัด) ๒.๓ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์ และ ทัศนศึกษาดูงาน จำนวน ๔๒๐ ราย (จังหวัด)

๒. กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เชิงพาณิชย์สู่สากล (ต่อ) ๒.๔ ตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น จำนวน ๔๒๐ แปลง (จังหวัด) ๒.๕ ผลิตสื่อและสิ่งพิมพ์เกษตรอินทรีย์ จำนวน ๒ ชนิด (สพส.) ๒.๖ สร้างเครือข่ายการผลิต การตลาด จำนวน ๙ จังหวัด ๒.๗ จัดงานมหกรรมสินค้าเกษตรอินทรีย์ จำนวน ๑ ครั้ง (สพส.)

๓. กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ (สสจ.)

ผลผลิต ผลลัพธ์ เกษตรกรได้รับความรู้จำนวน ๘๘,๘๕๐ ราย เกษตรกรได้รับความรู้จำนวน ๘๘,๘๕๐ ราย ผลลัพธ์ เกษตรกรร้อยละ ๖๐ ของเกษตรกรที่ได้รับ การถ่ายทอดความรู้ นำความรู้ไปปฏิบัติ

ขอบคุณมาก